ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 งานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน

ปีที่ประเมิน 2564
ผู้ดูแลตัวบ่งชี้ : วิภาวดี ทวี , พัณณิตา นันทะกาล , พรเทพ เจิมขุนทด , รุ่งทิวา เนื้อนา , ปัญญณัฐ ศักดิ์สิทธานุภาพ , ธัญทิพ บุญเยี่ยม , ปิ่นอนงค์ จำปาเงิน , จุฑาสินี ชนะศึก
ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์
คำอธิบายตัวบ่งชี้

การวิจัยเป็นพันธกิจหนึ่งที่สำคัญของมหาวิทยาลัย การดำเนินการตามพันธกิจอย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จนั้น สามารถพิจารณาได้จากผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่มีคุณภาพและมีประโยชน์สู่การนำไปใช้ จากการเปรียบเทียบจำนวนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมของอาจารย์ประจำที่นำไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ในโครงการวิจัยและรายงานการวิจัย โดยได้รับการรับรองการใช้ประโยชน์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

เกณฑ์การประเมิน

การแปลงค่าคะแนนร้อยละของจำนวนงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมต่อจำนวนงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมทั้งหมดของคณะ คิดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30

สูตรการคํานวณ

1. คำนวณค่าร้อยละของจำนวนชิ้นงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน

ผลรวมของงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์
---------------------------------------------------------------------------------------------------------      x  100
จำนวนงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมทั้งหมดในปีที่ประเมินฯ

2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนที่ได้ = ร้อยละของจำนวนชิ้นงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชม
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------       x     5
งานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ของคณะ ที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5
หมายเหตุ

1. นับจำนวนชิ้นงานของงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ในปีที่ประเมิน
2. งานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน อาจนับคะแนนซ้ำได้ในกรณีต่างชุมชนในปีที่รับการประเมิน กรณีที่มีการนำไปใช้ประโยชน์แต่ละชุมชน ต้องมีหลักฐานการพัฒนาชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม
3. สำหรับงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่เคยถูกนำไปใช้ประโยชน์ สามารถนำไปใช้ในการประเมินในปีถัดไปได้ โดยงานวิจัยดังกล่าวต้องแสดงให้เห็นถึงการพัฒนาต่อยอดอย่างเป็นรูปธรรม

ผลการดำเนินงาน

   

        คณะมีผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่มีคุณภาพและมีประโยชน์สู่การนำไปใช้ของชุมชน สามารถนำไปแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของชุมชน และได้รับการรับรองการใช้ประโยชน์จากชุมชน ดังนี้

ชื่องานวิจัย

การนำไปใช้ประโยชน์

กลุ่มผู้รับผลประโยชน์

1. การใช้สื่ออินโฟกราฟิก เพื่อพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อออนไลน์ของเด็กและเยาวชนตำบลน้ำคำ จังหวัดศรีสะเกษ

การนำไปใช้ประโยชน์เชิงสาธารณะ การนำสื่ออินโพกราฟิก เผยแพร่เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่วิจัย ให้ความสำคัญและทำความเข้าใจกับสื่อออนไลน์ในยุคปัจจุบัน ซึ่งจะส่งผลให้เด็กและเยาวชนสามารถปรับตัวและระมัดระวังการใช้สื่อออนไลน์ที่มีแพร่หลายในสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป

เทศบาลตำบลน้ำคำ

จังหวัดศรีสะเกษ

2. นวัตกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ตามอัตลักษณ์ วัฒนธรรม ผลิตภัณฑ์ผ้าปักแซว บ้านรงระ ต.ตูม อ.ปรางค์กู่ จ.ศรีสะเกษ

ต้นแบบกลุ่มในการพัฒนาอัตลักษณ์ชุมชน และการบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน เพื่อเสริมสร้างอาชีพที่มั่นงคงให้กับชุมชน

บ้านรงระ ต.ตูม อ.ปรางค์กู่ จ.ศรีสะเกษ

3. การพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมโดยชุมชนมีส่วนร่วมเพื่อการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ

ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และการพัฒนาพื้นที่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมปราสาทเยอ

อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ

 

สูตรการคำนวณ

1.  คำนวณค่าร้อยละของจำนวนชิ้นงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน

=

ผลงานงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน

X 100

จำนวนงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมทั้งหมดในปีที่ประเมิน ฯ

 

 =

3

x 100

=  ร้อยละ 42.86

7

 

 

 

2.  แปลงจำนวนเงินที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

    คะแนน  =

ร้อยละของจำนวนชิ้นงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน

  X 5

งานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชนที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5

 

คะแนน  =

42.86

 X 5

=   5 คะแนน

30

หลักฐาน
ผลคะแนนการประเมินตนเอง
ทำได้ (ข้อ) ได้คะแนน
5 5