ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 จำนวนชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน

ปีที่ประเมิน 2565
ผู้ดูแลตัวบ่งชี้ : เสถียร สีชื่น , ประทักษ์ คูณทอง , ทินกร กมล , ธัญทิพ บุญเยี่ยม , จุฑาสินี ชนะศึก , ปัญญณัฐ ศักดิ์สิทธานุภาพ
ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์
คำอธิบายตัวบ่งชี้

มหาวิทยาลัยราชภัฏได้มีการกำหนดพื้นที่รับผิดชอบในการพัฒนา และมีการกำหนดเป้าหมายการพัฒนาไว้ในแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ การจัดทำแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนจึงต้องศึกษาความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ บรรลุตามแผน

เกณฑ์การประเมิน

โดยการแปลงค่าร้อยละจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20

สูตรการคํานวณ

1. คำนวณค่าร้อยละของชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน

จำนวนชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน
---------------------------------------------------------------------------------------------------------      x  100
จำนวนชุมชนเป้าหมายทั้งหมด

2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนที่ได้ = ร้อยละของชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------       x     5
ร้อยละจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5
หมายเหตุ

1. ต่อเนื่อง หมายถึง การดำเนินงานตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป
2. กรณีมหาวิทยาลัยพัฒนาชุมชนเดิมต่อเนื่องมากกว่า 3 ปี จะต้องมีการเปลี่ยนประเด็นการพัฒนา

ผลการดำเนินงาน

วิธีคำนวณ

1. คำนวณค่าร้อยละของชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน

 

 

จำนวนชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

ตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน

 

 

x 100

 

จำนวนชุมชนเป้าหมายทั้งหมด

 

แทนค่า

2x 100/2 = ร้อยละ 100

   

 

 

2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนที่ได้ =

 

ร้อยละของชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

ตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน

x 5

ร้อยละจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5

 

แทนค่า

         คะแนนที่ได้ = 100 x 5 /20 = 5 คะแนน

 

ผลการดำเนินงาน :

ปีงบประมาณ พ.ศ.  2566 งานบริการวิชาการแก่ชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้จัดทำโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชนตามแผนที่กำหนดไว้ โดยร่วมกับหน่วยงานภายนอกอาทิ ชุมชน พัฒนาชุมชนอำเภอ ที่ทำการปกครอง ตลอดจน กองอำนวยการรักษาความั่นคงภายในส่วนหน้าจังหวัดศรีสะเกษ เป็นต้น การดำเนินงานงานบริการวิชาการแก่ชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ดำเนินการทั้งสิ้น 2 โครงการ ดังนี้ 1) โครงการอันเนื่องมากจากพระราชดำริและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: ศาสตร์พระราชาและปรัชญาเศรษกิจพอเพียงกับการนำไปใช้การจัดการชุมชนอย่างยั่งยืน บ้านรงระ ตำบลตูม อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ  2) โครงการบริการวิชาการ : พัฒนาบรรจุภัณฑ์และออกแบบตราสินค้าผลิตภัณฑ์ปลานิลร้า บ้านด่าน ตำบลด่าน อำเภอราศีไศล จังหวัดศรีสะเกษ

ผลคะแนนการประเมินตนเอง
ทำได้ (ข้อ) ได้คะแนน
5 5