ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์

ปีที่ประเมิน 2563
ผู้ดูแลตัวบ่งชี้ : ปรารถนา มะลิไทย , อลงกต แผนสนิท
ชนิดตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
คำอธิบายตัวบ่งชี้

การบริหารและพัฒนาอาจารย์ เริ่มต้นตั้งแต่ระบบการรับอาจารย์ใหม่ ต้องกำหนดเกณฑ์คุณสมบัติอาจารย์ที่สอดคล้องกับสภาพบริบท ปรัชญา วิสัยทัศน์ของสถาบัน และของหลักสูตรมีกลไกการคัดเลือกอาจารย์ที่เหมาะสม โปร่งใส นอกจากนี้ต้องมีระบบการบริหารอาจารย์ โดยการกำหนดนโยบาย แผนระยะยาว เพื่อให้ได้อาจารย์ที่มีคุณสมบัติทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ มีการวางแผนและการลงทุนงบประมาณและทรัพยากรและกิจกรรมการดำเนินงาน ตลอดจนการกำกับดูแล และการพัฒนาคุณภาพอาจารย์

ในการรายงานการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดำเนินงานอย่างน้อยให้ครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้

-  ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตร

-  ระบบการบริหารอาจารย์

-  ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์

ในการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดำเนินงานทั้งหมดที่ทำให้หลักสูตรมีอาจารย์ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมทั้งในด้านวุฒิการศึกษาและตำแหน่งทางวิชาการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง และมีการส่งเสริมให้มีการเพิ่มพูนความรู้ความสามารถของอาจารย์เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการของหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน
0 1 2 3 4 5

• ไม่มีระบบ

• ไม่มีกลไก

• ไม่มีแนวคิดในการกำกับติดตามและปรับปรุง

• ไม่มีข้อมูลหลักฐาน

• มีระบบมีกลไก

• ไม่มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน

• มีระบบมีกลไก

• มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน

• มีการประเมินกระบวนการ

• ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ

• มีระบบมีกลไก

• มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน

• มีการประเมินกระบวนการ

• มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน

• มีระบบมีกลไก

• มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน

• มีการประเมินกระบวนการ

• มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน

• มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม

• มีระบบ มีกลไก

• มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน

• มีการประเมินกระบวนการ

• มีการปรับปรุง/พัฒนา กระบวนการจากผลการประเมิน

• มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม

• มีแนวทางปฏิบัติที่ดี โดย มีหลักฐานเชิงประจักษ์ ยืนยัน และกรรมการ ผู้ตรวจประเมิน สามารถ ให้เหตุผลอธิบายการ เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ ชัดเจน

ผลการดำเนินงาน

   ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ดำเนินงานตามระบบและกลไกบริหารและพัฒนาอาจารย์ดังนี้

4.1.1 การดำเนินงานตามระบบและกลไกการรับอาจารย์และแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตร

   ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ได้มีนำระบบการรับอาจารย์และการแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ มาเป็นหลักในการดำเนินการและได้ดำเนินการแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรตามระบบของมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้
     1. หลักสูตรได้มีการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพื่อทบทวน วิเคราะห์จำนวนอัตรากำลังของอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรที่ว่างลง 1 อัตราคือ อัตราของ ผศ.พ.ท. ดร.ศิรพณ โพธิอาภา ซึ่งในอัตราที่ว่างลงหลักสูตรได้มีการขออัตราทดแทนแต่ไม่ได้รับการจัดสรรเนื่องจากปัจจุบันหลักสูตรมีอาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวน 7 คน ซึ่งเพียงต่อการจัดการเรียนการสอน
     2. หลักสูตรได้มีการพิจารณา คุณวุฒิ และคุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานกำกับหลักสูตร และมีการคัดเลือกอาจารย์ที่มีคุณสมบัติเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีประสิทธิภาพ
      หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบตามจำนวน 5 คน และมีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558
     ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้การประชุมเพื่อทบทวนระบบกลไกการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรพบว่าระบบและกลไกดังกล่าวยังคงมีความเหมาะสม โดยการประเมินจากคุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตรทั้ง 7 คน มีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ดังนั้นหลักสูตรจึงยังคงใช้ระบบและกลไกดังกล่าวในการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 และที่ประชุมหลักสูตรยังได้เน้นยำให้อาจารย์ประจำหลักสูตรเผยแพร่ผลงานทางวิชาการในทุกปีการศึกษา

4.1.2 การนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน

   ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ใช้ระบบกลไกการบริหารอาจารย์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ และดำเนินงานภายใต้ระบบการบริหารอาจารย์และบุคลากรของวิทยาลัยกฎหมายและการปกครองซึ่งเริ่มจาก

  • หลักสูตรวิเคราะห์ภาระงาน และกำหนดกรอบอัตรากำลัง
  • คณะกรรมการบริหารวิทยาลัยกฎหมายและการปกครองให้ความเห็นชอบกับกรอบอัตรากำลังที่ควรมี
  • วิทยาลัยกฎหมายและการปกครองขออนุมัติกรอบอัตรากำลัง ไปที่กองแผนงานมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษเพื่อดำเนินการวิเคราะห์กำหนดกรอบอัตรากำลังตามที่เสนอ
  • หลักสูตรจัดทำแผนบริหารและพัฒนาบุคลากร
  • หลักสูตรทำคำของบประมาณประจำปีเสนอตามขั้นตอน
  • หลักสูตรดำเนินการรับอาจารย์ใหม่ตามกระบวนการรับอาจารย์ใหม่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

การปรับปรุง/พัฒนา กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์
   ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ได้มีการทบทวนการกำหนดอาจารย์ประจำหลักสูตรใหม่ โดยได้มีการกำหนดคุณสมบัติตามเกณฑ์ มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขา​วิชารัฐประศาสนศาสตร์ พ.ศ. 2558 คือเกณฑ์คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรโดยพิจารณาจากคุณวุฒิที่ตรงกับสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ซึ่งหลักสูตรได้ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาตามวงรอบ 4 ปี โดยได้มีการดำเนินการดังนี้

  • หลักสูตรได้มีการนำเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขา​วิชารัฐประศาสนศาสตร์. พ.ศ. 2558 มาพิจารณา พบว่าอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 5 คน นั้นจะต้องมีผลงานทางวิชาการย้อนหลัง 5 ปี อย่างน้อย 1 รายการ
  • หลักสูตรได้มีการนำประเด็นดังกล่าวกำหนดเป็นแนวปฏิบัติของหลักสูตร และนำเสนอที่ประชุมหลักสูตรเพื่อนำไปสู่การจัดทำแผนอาจารย์ ซึ่งหลักสูตรได้มีการทบทวนแผนบริหารและพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยได้สำรวจทั้งด้านการศึกษาต่อ การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ และการพัฒนาตนเองของอาจารย์ประจำหลักสูตร ดังนี้

     1) ด้านการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
ในปีการศึกษา 2563  หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ได้มีการส่งเสริมด้านการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยมีอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ “รองศาสตราจารย์” จำนวน 2 คน และขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” จำนวน 1 คน โดยมีรายละเอียดดังนี้

ชื่อ - กุล

แผนพัฒนาบุคลากรเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ

 

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

รองศาสตราจารย์

2563

2564

2565

2566

2567

2563

2564

2565

2566

2567

1. รศ.ดร.เอกพงษ์  วงศ์คำจันทร์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2. ผศ. ดร.ธัญวรัตน์  แจ่มใส

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3. ผศ. ดร.อลงกต  แผนสนิท

 

 

 

 

 

 

 

P

 

 

4. ผศ.ดร.ประจวบ จันทร์หมื่น

 

 

 

 

 

 

P

 

 

 

5. ผศ.ปณยกร  บุญกอบ

 

 

 

 

 

P

 

 

 

 

6. ผศ.ปรารถนา  มะลิไทย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

P

7. อ.ประเสริฐ บัวจันอัฐ

P

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รวม

1

 

 

 

 

2

1

1

 

1

     2) ด้านการศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก
ในปีการศึกษา 2563  หลักสูตรได้มีการส่งเสริมด้านการพัฒนาคุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น จำนวน 1 คน คือ ผศ. ปรารถนา มะลิไทย ซึ่งได้รับการอนุมัติให้ลาศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ระหว่างปีการศึกษา 2563 - 2566

ชื่อ - กุล

แผนพัฒนาบุคลากรเพื่อศึกษาต่อระดับปริญญาเอก

 

2563

2564

2565

2566

2566

 

1. รศ.ดร.เอกพงษ์  วงศ์คำจันทร์

 

 

 

 

 

2. ผศ. ดร.ธัญวรัตน์  แจ่มใส

 

 

 

 

 

3. ผศ. ดร.อลงกต  แผนสนิท

 

 

 

 

 

4. ผศ.ดร.ประจวบ จันทร์หมื่น

 

 

 

 

 

5. ผศ.ปณยกร  บุญกอบ

 

 

 

 

 

6. ผศ.ปรารถนา  มะลิไทย

P

 

 

 

 

7. อ.ประเสริฐ บัวจันอัฐ

 

 

 

 

 

รวม

1

 

 

 

 

    3) ด้านการพัฒนาฝึกอบรมและส่งเสริมด้านวิชาการฅ
   ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ได้มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อส่งเสริมการพัฒนาอาจารย์ประจำหลักสูตรด้านการพัฒนาฝึกอบรมและส่งเสริมด้านวิชาการ โดยได้มีการจัดสรรงบประมาณจำนวน 5,000 บาท/คน
 ซึ่งในปีการศึกษา 2563 อาจารย์ประจำหลักสูตรได้รับการพัฒนาฝึกอบรม ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ชื่อ-สกุล

ชื่อเรื่อง

ระยะเวลา

สถานที่

1. รศ.ดร.เอกพงษ์  วงศ์คำจันทร์

ประชุมเชิงปฏิบัติการการทบทวนร่างคำของบประมาณและแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

28 สิงหาคม 63

ห้องประชุมเศวตสุวรรณ 2 ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาการอเนกประสงค์ บุญชง วีสมหมาย มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

อบรมเชิงปฎิบัติการการสอนออนไลน์ด้วย Google Classroom และ Zoom

3 มกราคม 64

ห้องประชุมวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง

2. ผศ. ดร.ธัญวรัตน์  แจ่มใส

ประชุมเชิงปฏิบัติการการทบทวนร่างคำของบประมาณและแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

28 สิงหาคม-63

ห้องประชุมเศวตสุวรรณ 2 ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาการอเนกประสงค์ บุญชง วีสมหมาย มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

อบรมเชิงปฎิบัติการการสอนออนไลน์ด้วย Google Classroom และ Zoom

3 มกราคม 64

ห้องประชุมวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง

3. ผศ. ดร.อลงกต  แผนสนิท

ประชุมเชิงปฏิบัติการการทบทวนร่างคำของบประมาณและแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

28 สิงหาคม-63

ห้องประชุมเศวตสุวรรณ 2 ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาการอเนกประสงค์ บุญชง วีสมหมาย มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

อบรมเชิงปฎิบัติการการสอนออนไลน์ด้วย Google Classroom และ Zoom

3 มกราคม 64

ห้องประชุมวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง

4. ผศ.ดร.ประจวบ จันทร์หมื่น

สัมมนาเชิงปฏิบัติการ แผนงานพัฒนาศักยภาพคนและเครือข่ายองค์กรชุมชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือปี 2564

6-9 ธันวาคม 2563

สถาบันการจัดการความรู้เกษตรกรรมยั่งยืน (สวนชุมแซง) ต.ดอนยม อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม

เข้าร่วมเวทีอบรมเครื่องมือการวิจัยชุมชน "ทางเลือกการพัฒนาคนจน เพื่อวางแผน Pilot Project"

8-10 ตุลาคม 253

ห้องประชุมศูนย์เรียนเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนเครือข่ายทามมูล ต.หนองแค อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ

เข้าร่วมประชุมพิจารณา (ร่าง) รายงานผลการวิจัย 5 อปท. จังหวัดสุรินทร์ ระยะที่ 2

2สิงหาคม-63

ห้องประชุมเอมอร แกรนด์ B สวนป่ารีสอร์ท อ.เมือง จ.สุรินทร์

5. ผศ.ปณยกร  บุญกอบ

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการการทบทวนร่างคำของบประมาณและแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

28 สิงหาคม-63

ห้องประชุมเศวตสุวรรณ 2 ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาการอเนกประสงค์ บุญชง วีสมหมาย มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

อบรมเชิงปฎิบัติการการสอนออนไลน์ด้วย Google Classroom และ Zoom

3 มกราคม 64

ห้องประชุมวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง

6. ผศ.ปรารถนา  มะลิไทย

ประชุมเชิงปฏบัติการการทบทวนร่างคำของบประมาณและแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

28 สิงหาคม-63

ห้องประชุมเศวตสุวรรณ 2 ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาการอเนกประสงค์ บุญชง วีสมหมาย มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

อบรมเชิงปฎิบัติการการสอนออนไลน์ด้วย Google Classroom และ Zoom

3 มกราคม 64

ห้องประชุมวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง

7. อ.ประเสริฐ บัวจันอัฐ

ประชุมเชิงปฏิบัติการการทบทวนร่างคำของบประมาณและแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

28 สิงหาคม-63

ห้องประชุมเศวตสุวรรณ 2 ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาการอเนกประสงค์ บุญชง วีสมหมาย มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

อบรมเชิงปฎิบัติการการสอนออนไลน์ด้วย Google Classroom และ Zoom

3 มกราคม 64

ห้องประชุมวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง

    ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้มีการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการดำเนินงานด้านการบริหารและพัฒนาอาจารย์ ซึ่งได้มีการส่งเสริมให้อาจารย์ประจำหลักสูตรพัฒนาตนเองอย่างเป็นรูปธรรม และคณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้มีการติดตามและประเมินผลการวางแผนการพัฒนาตนเอง ในด้านคุณวุฒิการศึกษา ตำแหน่งทางวิชาการ การวิจัยและการพัฒนาการเรียนรู้ ตลอดจนการเข้ารับการอบรมหรือศึกษาดูงานของบุคคลากรที่สอดคล้องกับคุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ส่งผลให้มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 1 คน คือ อาจารย์ ดร. ประจวบ จันทร์หมื่น ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ตามคำสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษที่ 786/2563 ลงวันที่ 25 พฤษภาคม 2563
     ทั้งนี้ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์ จำนวน 1 คน คือ อาจารย์ประเสริฐ บัวจันอัฐ ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง ครั้งที่ 4/2563 วันที่ 10 มิถุนายน 2563 ขณะได้อยู่ระหว่างการพิจารณาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ

ชื่อ – สกุล

ตำแหน่งทางวิชาการ

1. นายประเสริฐ บัวจันอัฐ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ผลคะแนนการประเมินตนเอง
ทำได้ (ข้อ) ได้คะแนน
4 4