ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ระบบและกลไกการพัฒนาเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน (KPI 3.1 ระดับสถาบัน)

ปีที่ประเมิน 2562
ผู้ดูแลตัวบ่งชี้ : ชยานันท์ แก้วเกิด , พรรทิภา พรมมา
ชนิดตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
คำอธิบายตัวบ่งชี้

การพัฒนาเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนเป็นการบริการวิชาการเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนท้องถิ่นตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการศึกษา รวมถึงด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 ข้อ มีการดำเนินการ 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ
หมายเหตุ

1. ต่อเนื่อง หมายถึง การดำเนินงานตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป
2. ยั่งยืน หมายถึง การดำเนินงานตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป
3. เข้มแข็ง หมายถึง สามารถพึ่งตนเองได้

เกณฑ์มาตรฐาน
ระดับ เกณฑ์มาตรฐาน ดำเนินการ
1 ทุกคณะมีส่วนร่วมกับมหาวิทยาลัยและชุมชนในการกำหนดพื้นที่เป้าหมายในการพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับบริบท ปัญหา และความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคม ตามจุดเน้น จุดเด่นของมหาวิทยาลัยตามศาสตร์พระราชา หรือตามแนวพระราชดำริ
2 มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA โดยร่วมมือกับหน่วยงานภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัย
3 ชุมชนหรือองค์กรมีผู้นำหรือสมาชิกที่มีการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
4 ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเอง โดยคงอัตลักษณ์ของคนในชุมชนและเอกลักษณ์ของท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืน
5 มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคม หรือชุมชน/องค์กรอย่างเข้มแข็ง
6 เกิดชุมชนต้นแบบด้านการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ที่มีคณะและมหาวิทยาลัย เป็นผู้รับผิดชอบร่วมในการพัฒนาอย่างน้อย 1 ชุมชน
ผลการดำเนินงาน
ตนข้อเกณฑ์ผลการดำเนินงานหลักฐาน
1 ทุกคณะมีส่วนร่วมกับมหาวิทยาลัยและชุมชนในการกำหนดพื้นที่เป้าหมายในการพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับบริบท ปัญหา และความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคม ตามจุดเน้น จุดเด่นของมหาวิทยาลัยตามศาสตร์พระราชา หรือตามแนวพระราชดำริ

ทุกคณะมีส่วนร่วมกับมหาวิทยาลัยและชุมชนในการกำหนดพื้นที่เป้าหมายในการพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับบริบท ปัญหา และความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคม ตามจุดเน้น จุดเด่นของมหาวิทยาลัยตามศาสตร์พระราชา หรือตามแนวพระราชดำริ ตามกระบวนการ ดังนี้

1. ทุกคณะมีส่วนร่วมในการเป็นคณะกรรมการผู้รับผิดชอบงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามพันธกิจด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีการศึกษา 2562 (7.1-1(1)) ซึ่งประกอบด้วย อธิการบดีและคณะผู้บริหารเป็นคณะกรรมการอำนวยการ ทำหน้าที่อำนวยการ พิจารณาสั่งการ กำกับติดตาม ให้ความเห็นชอบ และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านบริการวิชาการแก่สังคม และมีรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการเป็นประธาน มีอาจารย์ บุคลากร จาก 5 คณะ 2 สำนัก และ 2 งาน เป็นคณะกรรมการดำเนินงาน ประกอบด้วย 1) คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 2) คณะครุศาสตร์ 3) คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี 4) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 5) วิลัยกฎหมายและการปกครอง 6) สำนักงานอธิการบดี 7) สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ 8) กองนโยบายและแผน และ 9) หน่วยมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อทำหน้าที่ขับเคลื่อนพันธกิจด้านบริการวิชาการให้บรรลุวัตถุประสงค์

2. ทุกคณะมีส่วนร่วมในการกำหนดพื้นที่เป้าหมายโดยมีการจัดประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามพันธกิจด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีการศึกษา 2562 ครั้งที่ 4/2562 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (7.1-1(2)) เพื่อกำหนดพื้นที่เป้าหมาย ก่อนลงพื้นที่สำรวจปัญหาและความต้องการของ ชุมชน หรือสังคม ตามจุดเน้น จุดเด่นของมหาวิทยาลัยตามศาสตร์พระราชา หรือตามแนวพระราชดำริ ได้มติที่ประชุม คือ ชุมชนบ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

3. ทุกคณะได้ลงพื้นที่สำรวจปัญหาและความต้องการของชุมชนร่วมกับมหาวิทยาลัย (7.1 - 1(3)) ซึ่งประกอบด้วย 1) คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 2) คณะครุศาสตร์ 3) คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี 4) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 5) วิลัยกฎหมายและการปกครอง 6) สำนักงานอธิการบดี 7) สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2562 จำนวนทั้งสิ้น 25 คน โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการกำหนดพื้นที่ และแนวทางการพัฒนาให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของชุมชน โดยมีชาวบ้านหัวเข้าร่วมประชาคม จำนวน 70 คน ประกอบด้วย ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น และชาวบ้าน ซึ่งในการประชาคมครั้งนี้ชาวบ้านได้เสนอปัญหาและความต้องการ ดังนี้

ด้าน

หน่วยงานที่จัดเก็บข้อมูล

ปัญหา

ความต้องการ

กลุ่มเป้าหมาย

1. ด้านเศรษฐกิจ

คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี

ปัญหาหลัก คือ ขาดรายได้และมีภาระหนี้สิน
1. ผลิตสินค้าตามที่ลูกค้าสั่งเท่านั้น ยังไม่มีตลาดรองรับ ทำให้มีรายได้ไม่ต่อเนื่อง
2. ขาดมาตรฐาน หรือหน่วยงานรับรอง เช่น OTOP และอื่นๆ
3. ขาดบรรจุภัณฑ์ที่น่าสนใจ

การสร้างอาชีพและรายได้
1. การประชาสัมพันธ์และเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่าย (การตลาดด้านต่างๆ เช่น ออนไลน์)
2. การเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านหน่วยงานมาตรฐานรองรับ (เช่น OTOP . อื่นๆ
3. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์
4. การจัดทำบัญชีต้นทุนและบัญชีครัวเรือน

สมาชิก กลุ่มแม่บ้าน 80 คน

คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์

การแปรรูปปลาส้ม ยังไม่มีการรวมกลุ่มและสร้างมาตรฐานรวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาส้ม

ชุมชมต้องการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ปลาส้มให้สวยงามได้รับมารตราฐาน

กลุ่มผู้ผลิตปลาส้ม 60 คน

2. ด้านสุขภาพ

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

1. การดูแลสุขภาพเด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

2. ปัญหาการทำผลิตภัณฑ์ทำปลาร้า ยังไม่มีการรวมกลุ่มและมาตรฐานการผลิตที่ชัดเจน ซึ่งทำให้ผู้ผลิตไม่สามารถรู้ต้นทุนในการผลิตที่เกิดขึ้นจริง และเป็นเหตุไม่สามารถควบคุมต้นทุนได้ อีกทั้งยังขาดการรวมกลุ่มเพื่อสร้างอำนาจการต่อรองกับพ่อค้าคนกลาง รวมถึงการสร้างแบรนด์และการผลิตให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน

1. ชาวบ้านเสนอประเด็นนวด แต่ต้องนัดคุยอีกครั้งเนื่องจากการอบรมต้องใช้ระยะเวลานานถึงจะได้รับใบประกาศ

2. ต้องการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มวิสาหกิจปลาร้าบ้านหัวนา และทราบต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการผลิต

อสม.หมู่บ้านและผู้สนใจ

3. ด้านการศึกษา

คณะครุศาสตร์

การพัฒนาเด็กในโรงเรียนศาสตร์ที่เชี่ยวชาญ ด้านอาชีพ

หลักสูตรท้องถิ่นในโรงเรียน
- ด้านดนตรี
- ด้านกีฬา

นักเรียนโรงเรียนบ้านกอกหัวนา 100 คน

4. ด้านสังคม

วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง

วิทยาลัยกฎหมายเสนอตนเป็นผู้ถอดบทเรียนทั้ง 3 ประเด็น

 

1. ชุมชนต้องการองค์ความรู้ เพื่อส่งเสริมอาชีพ เพิ่มรายได้ แก้ปัญหาความยากจน

2. ชุมชนต้องการแผนพัฒนาชุมชนแบบองค์รวมเพื่อนำสู่การปฏิบัติในชุมชน

ตัวแทนผู้เข้าร่วมโครงการคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี /คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์/คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์/คณะครุศาสตร์

4. สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ได้ลงพื้นที่สำรวจปัญหาและความต้องการพื้นที่บริการวิชาการแก่สังคมเดิมของมหาวิทยาลัย เมื่อปีการศึกษา 2561 ณ โรงเรียนบ้านหนองสาดโนนเจริญ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2562 โดยมีผู้ใหญ่บ้าน กำนัน คณะครูและผู้ปกครอง โรงเรียน มีส่วนร่วมในการประชาคมเสนอปัญหาและความต้องการของชุมชน ผลการสำรวจปัญหาและความต้องการ ดังนี้

ด้าน

หน่วยงานที่จัดเก็บข้อมูล

ปัญหา

ความต้องการ

กลุ่มเป้าหมาย

ด้านการศึกษา

สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ
งานวิทยบริการและเทศโนโลยีสารสนเทศ

นักเรียนขาดทักษะในการรักการอ่านและการใช้เทคโนโลยี

พัฒนาทักษะในการอ่าน และต้องการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสื่อสาร

นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองสาดโนนเจริญ
อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 29 บาท

2 มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA โดยร่วมมือกับหน่วยงานภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยได้ดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA โดยร่วมมือกับหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ดังนี้

1. ขั้นตอนการวางแผน (Plan)
     1.1 มหาวิทยาลัยได้จัดประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามพันธกิจด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีการศึกษา 2562 ครั้งที่ 4/2562 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2562 วาระที่ 4.3 กรอบปฏิทินการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพ ประจำปีการศึกษา 2562 (พันธกิจด้านบริการวิชาการ) (7.1-2-(1)) โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม เพื่อวางแผนในการกำหนดปฏิทินการดำเนินงานบริการวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2562 (7.1-2-(2))
     1.2 ทุกคณะมีส่วนร่วมในการเป็นคณะกรรมการผู้รับผิดชอบงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามพันธกิจด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีการศึกษา 2562 (7.1-2(3)) ซึ่งประกอบด้วย อธิการบดีและคณะผู้บริหารเป็นคณะกรรมการอำนวยการ ทำหน้าที่อำนวยการ พิจารณาสั่งการ กำกับติดตาม ให้ความเห็นชอบ และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านบริการวิชาการแก่สังคม และมีรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการเป็นประธาน มีอาจารย์ บุคลากร จาก 5 คณะ 2 สำนัก และ 2 งาน เป็นคณะกรรมการดำเนินงาน ประกอบด้วย 1) คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 2) คณะครุศาสตร์ 3) คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี 4) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 5) วิลัยกฎหมายและการปกครอง 6) สำนักงานอธิการบดี 7) สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ 8) กองนโยบายและแผน และ 9) หน่วยมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อทำหน้าที่ขับเคลื่อนพันธกิจด้านบริการวิชาการให้บรรลุวัตถุประสงค์
    1.3 ทุกคณะมีส่วนร่วมในการกำหนดพื้นที่เป้าหมายโดยมีการจัดประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามพันธกิจด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีการศึกษา 2562 ครั้งที่ 4/2562 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2562 (7.1-2(4)) วาระที่ 5.2 แนวทางการดำเนินการตามพันธกิจ ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ระดับสถาบันตามโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ 2563 เพื่อกำหนดพื้นที่เป้าหมาย ก่อนลงพื้นที่สำรวจปัญหาและความต้องการของ ชุมชน หรือสังคม ตามจุดเน้น จุดเด่นของมหาวิทยาลัยตามศาสตร์พระราชา หรือตามแนวพระราชดำริ ได้มติที่ประชุม คือ ชุมชนบ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ
    1.4 ทุกคณะได้ลงพื้นที่สำรวจปัญหาและความต้องการของชุมชนร่วมกับมหาวิทยาลัย (7.1 - 2(5)) ซึ่งประกอบด้วย 1) คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 2) คณะครุศาสตร์ 3) คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี 4) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 5) วิลัยกฎหมายและการปกครอง 6) สำนักงานอธิการบดี 7) สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2562 จำนวนทั้งสิ้น 25 คน โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการกำหนดพื้นที่ และแนวทางการพัฒนาให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของชุมชน โดยมีชาวบ้านหัวเข้าร่วมประชาคม จำนวน 70 คน ประกอบด้วย ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น และชาวบ้าน
    1.5 สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการงานวิทยบริการและเทศโนโลยีสารสนเทศ ลงพื้นที่สำรวจปัญหาและความต้องการพื้นที่บริการวิชาการแก่สังคมเดิมปีการศึกษา 2561 ณ โรงเรียนบ้านหนองสาดโนนเจริญ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ (7.1 - 2(6)) วันที่ 10 ธันวาคม 2562 โดยมีผู้ใหญ่บ้าน กำนัน คณะครูและผู้ปกครอง โรงเรียน มีส่วนร่วมในการประชาคมเสนอปัญหาและความต้องการของชุมชน ผลการสำรวจปัญหาและความต้องการ ด้านการศึกษา
    1.6 มหาวิทยาลัย ได้สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกโดยมีการลงนามความร่วมมือ (7.1-2-(7)) เมื่อวันที่ 17 เดือน มกราคม พ.ศ. 2563 ระหว่าง “มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ” ประกอบด้วย คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง สำนักงานอธิการบดี และ สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ กับ โรงเรียนบ้านกอกหัวนา” ฝ่ายที่สอง กับ “สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอกันทรารมย์” ฝ่ายที่สาม กับ “ศูนย์พัฒนานโยบายสาธารณะ จังหวัดศรีสะเกษ” ฝ่ายที่สี่ กับ “สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานศรีสะเกษ” ฝ่ายที่ห้า และ “สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดศรีสะเกษ”  ฝ่ายที่หก เพื่อพัฒนาร่วมกันในพื้นที่ชุมชนบ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ หน่วยงานสนับสนุนจากภายนอกสนับสนุนการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดหาองค์ความรู้ วิทยากร ปัจจัยที่จำเป็นต่อการพัฒนาพื้นที่ และดำเนินการเผยแพร่ถ่ายทอดองค์ความรู้วิชาการผ่านทางสื่อวิทยุ โทรทัศน์ การประชุม สัมมนา หรืออบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อทำให้ชุมชนเข้าถึงกิจกรรม งานของมหาวิทยาลัยได้สะดวกและ  ตรงความต้องการของชุมชนมากขึ้น รวมทั้งสนับสนุนกิจกรรมการดำเนินการเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้วิชาการที่จำเป็นต่อการพัฒนาชุมชน
    1.7 มหาวิทยาลัย ได้จัดประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามพันธกิจด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ครั้งที่ 1/2563 เมื่อวันพุธที่ 15 มกราคม 2563 วาระที่ 5.2  แผนบริการวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 1 ปี    (7.1-2-(8)) เพื่อพิจารณาแผนบริการวิชาการแก่ชุมชน ระดับสถาบัน ประจำปีการศึกษา 2562 โดยนำข้อมูลจากการลงพื้นที่สำรวจปัญหาและความต้องการของชุมชน มากำหนดกิจกรรม  งบประมาณ และผู้รับผิดชอบโครงการ โดยทุกคณะมีส่วนร่วมในการเป็นผู้รับผิดชอบโครงการตามแผนบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย และมีบุคลากรทุกหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมรับผิดชอบโครงการ รวมจำนวนทั้งสิ้น จำนวน 6 โครงการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 

ที่

โครงการ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

1

โครงการที่ปรึกษาทางอุตสาหกรรมวิสาหกิจชุมชน “ปลาร้าบ้านหัวนา”

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

2

โครงการค่ายพัฒนาทักษะการเรียนรู้ดนตรีและกีฬา

คณะครุศาสตร์

3

โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาส้มและการร่วมกลุ่มอาชีพผู้ผลิตปลาส้มชุมชนบ้านหัวนา

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

4

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการตลาดออนไลน์และบัญชีต้นทุนเพื่อชุมชนเข้มแข็ง

คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี

5

โครงการถอดบทเรียนองค์ความรู้และเขียนแผนพัฒนาชุมชน

วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง

6

โครงการการส่งเสริมการอ่าน โรงเรียนบ้านหนองสาดโนนเจริญ ตำบลหนองครก อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ

สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ

    1.8 หลังจากนั้นได้นำแผนบริการวิชาการแก่สังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีการศึกษา 2562 (7.1 - 2(9) เสนอคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยให้ความเห็นชอบ ในการประชุมครั้งที่ 2/2563 เมื่อวัน 19 กุมภาพันธ์ 2563 (หน้าที่ 26) (7.1-2-(10)) 

2. ขั้นตอนการดำเนินงานตามแผน (DO)
     ทุกคณะมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนตามแผนบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย จำนวนทั้งสิ้น 6 โครงการ และดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 6 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 ส่งผลให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง มีรายได้ พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน จากการลงพื้นที่สำรวจความยั่งยืนอันเป็นผลจากการติดตามบริการวิชาการแก่สังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีการศึกษา 2562 (7.1 - 2(11)) พบว่า

ที่

โครงการ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

ผลการติดตาม / สิ่งที่ชุมชนหรือโรงเรียนยังมีดำเนินการต่อ / มีความเข้มแข็งอย่างชัดเจน

1

โครงการที่ปรึกษาทางอุตสาหกรรมวิสาหกิจชุมชน “ปลาร้าบ้านหัวนา” (7.1-2(12))

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

 -  เกิดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลาร้าบ้านหัวนา 1 กลุ่ม

 - กระบวนการผลิตที่เป็นมาตรฐาน 1 กระบวนการ

 -  กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลาร้าบ้านหัวนาเกิดองค์ความรู้ในการวิเคราะห์ และจัดทำมาตรฐานการผลิตเองได้

 -  กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลาร้าบ้านหัวนาเกิดองค์ความรู้ในการวิเคราะห์ต้นทุนที่เกิดขึ้นจากกระบวนการทำปลาร้า

2

โครงการค่ายพัฒนาทักษะการเรียนรู้ดนตรีและกีฬา (7.1-2(13))

คณะครุศาสตร์

 - นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องดนตรีและนาฏศิลป์พื้นเมือง และมีทักษะในการเล่นดนตรี

 - นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง การออกกำลังกาย มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ และมีทักษะในการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ

3

โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาส้มและการร่วมกลุ่มอาชีพผู้ผลิตปลาส้มชุมชนบ้านหัวนา (7.1-2(14))

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

 - เกิดกลุ่มผู้ผลิตปลาส้มบ้านหัวนา จำนวน 1 กลุ่ม

 - มีบรรจุภัณฑ์ปลาส้มบ้านหัวนา

4

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการตลาดออนไลน์และบัญชีต้นทุนเพื่อชุมชนเข้มแข็ง (7.1-2(15))

คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี

 - ผู้ที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการทำบัญชีต้นทุน และการตลาดออนไลน์

 - ผู้ที่เข้าร่วมโครงการสามารถเผื่อแพร่วิธีการจัดทำบัญชีต้นทุนเบื้องต้นการตลาดออนไลน์แก่ผู้อื่นได้

 - ผู้ที่เข้าร่วมโครงการจัดทำบัญชีต้นทุนและการตลาดออนไลน์ได้อย่างต่อเนื่อง

5

โครงการถอดบทเรียนองค์ความรู้และเขียนแผนพัฒนาชุมชน (7.1-2(16))

วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง

  - มีแผนพัฒนาชุมชน 1 เล่ม ที่เกิดจากองค์ความรู้เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาชุมชนเ

6

โครงการการส่งเสริมการอ่าน โรงเรียนบ้านหนองสาดโนนเจริญ ตำบลหนองครก อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ (7.1-2(17))

สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ

 - นักเรียนจำนวน 29 คน ได้รับการฝึกทักษะในด้านการอ่าน ฟัง ดู และการสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง

3. ขั้นตอนการประเมิน (Check)
     มหาวิทยาลัยได้จัดทำรายงานผลการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนบริการวิชาการฯและโครงการ (7.1 - 2(18)) และเสนอต่อคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ในการประชุมครั้งที่ 5/2563 (7.1-2-(19)) เมื่อวันพุธที่ 24  มิถุนายน 2563 (หน้าที่ 26) เพื่อพิจารณาให้ข้อเสนอแนะ เรื่องเสนอที่ประชุมพิจารณา วาระที่ 5.9 รายงานผลการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีงบประมาณประมาณ พ.ศ. 2563 โดยมีข้อเสนอแนะดังนี้
        1. การเลือกพื้นที่บริการวิชาการแก่สังคม ต้องมีความต่อเนื่องและยังยื่นตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และสอดคล้องกับมาตรฐานและการประกันคุณภาพารศึกษา
        2. การดำเนินโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ต้องประสานความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ในการพัฒนาท้องถิ่นในพื้นที่บริการ

4. ขั้นตอนการปรับปรุง (Act)
    มหาวิทยาลัย ได้จัดการประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบงานด้านประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามพันธกิจด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ระดับสถาบัน ครั้งที่ 2/2563 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2563  (7.1-2(20)) เพื่อถอดบทเรียนและพิจารณาแนวทางการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ และกำหนดแนวทางแก้ไขหรือพัฒนาโครงการบริการวิชาการในปีต่อไป (7.1-2(21)) โดยมีรายละเอียด ดังนี้

คณะ/สำนัก

ข้อเสนอแนะ

แนวทางการพัฒนา

ระยะเวลาการดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

-ขอให้มีการจัดโครงการเว้นระยะเวลา แต่ละคณะเพื่อให้ผู้อบรมได้มีเวลาพัก

-ต้องให้มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ จัดโครงการลักษณะพัฒนาอาชีพที่เกิดจากวัสดุในท้องถิ่น

-จัดระเวลาการอบรมให้เหมาะสมกับพื้นที่

30-31 กรกฏาคม 2563

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คณะครุศาสตร์

อยากให้เพิ่มกิจกรรม รายวิชาที่หลากหลาย  และกิจกรรมมีความเหมาะสม  นักเรียนสนุกสนานในการเข้าร่วมกิจกรรม 

-จัดกิจกรรมที่หลายหลายเพื่อให้ตรงตามความต้องการของพื้นที่ 

-ดำเนินโครงการในพื้นที่เดิมต่อเนื่อ

29-31 กรกฏาคม 2563 

อยากให้เพิ่มกิจกรรมอื่น  อยากให้เพิ่มรายวิชาที่หลากหลาย  กิจกรรมมีความเหมาะสม  นักเรียนสนุกสนานในการเข้าร่วมกิจกรรม 

3 ชุมชนหรือองค์กรมีผู้นำหรือสมาชิกที่มีการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

ชุมชนหรือองค์กรมีผู้นำหรือสมาชิกที่มีการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง  ดังนี้

1. มหาวิทยาลัย ร่วมกับทุกคณะ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้กำหนดพื้นที่บริการวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2562 จำนวน 2 ชุมชน คือ ชุมชนบ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ และชุมชนบ้านหนองสาดโนนเจริญ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ มีการสำรวจปัญหาและความต้องการของชุมชน เพื่อนำมากำหนดกิจกรรมในแผนบริการวิชาการแก่สังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีการศึกษา 2562 (7.1-3(1)) จำนวน 6 โครงการ และมีการดำเนินงานตามแผนแล้วเสร็จ จำนวน 6 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 ส่งผลให้ชุมชนมีการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

ที่

โครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน/และสถานที่

ลักษณะกิจกรรม

ผลการกำกับติดตามความยั่งยืนที่เป็นผลมาจากการโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

1

โครงการที่ปรึกษาทางอุตสาหกรรมวิสาหกิจชุมชน "ปลาร้า" บ้านหัวนา

1.1 กระบวนการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนปลาร้าบ้านหัวนา
รอบที่ 1 ระหว่างวันที่ 7-8 สิงหาคม 2563
รอบที่ 2 ระหว่างวันที่ 14-15 สิงหาคม 2563    รอบที่ 3 ระหว่างวันที่ 18-19 สิงหาคม 2563      รอบที่ 4 ระหว่างวันที่ 22-23 สิงหาคม 2563     

1.2 กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยี วิสาหกิจปลาร้าบ้านหัวนา     
วันที่ 29 สิงหาคม 2563 
ณ บ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

 กิจกรรมที่ 1 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง KAIZEN   
กิจกรรมที่ 2 การลดความสูญเปล่า LEAN      กิจกรรมที่ 3 การทำให้เห็นด้วยกัน Visualization   
กิจกรรมที่ 4 การทำให้เป็นมาตรฐาน Standardize   
กิจกรรมที่ 5 เวทีขยายผล ต้นแบบการจัดการวิสาหกิจเชิงอุตสาหกรรม

- ได้ปลาร้าที่สะอาด ถูกหลักอนามัย

- วิสาหกิจชุมชนทราบต้นทุน กำไร ของการทำปลาร้า

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

2

ค่ายพัฒนาทักษะการเรียนรู้ดนตรีและกีฬา

 ระหว่างวันที่ 29 - 31 กรกฎาคม 2563              ณ โรงเรียนบ้านกอกหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

- กิจกรรมฐานพัฒนาทักษะดนตรีพื้นเมือง (กลองหาง)
- กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะดนตรีพื้นเมือง (พิณ) 
- กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะดนตรีพื้นเมือง (ซออีสาน)   
- กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะดนตรีพื้นเมือง (เครื่องประกอบจังหวะ)           
 กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะดนตรีพื้นเมือง (นาฏศิลป์พื้นเมือง)
- กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะกีฬาฟุตบอล- กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะกีฬาแฮนด์บอล
- กิจกรรมสรุปองค์ความรู้และแสดงผลงาน

- ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะดนตรีและนาฏศิลป์พื้นเมืองฝกีฬา อย่างน้อย 1 ชนิด

- ผู้เข้าร่วมโครงการได้แสดงออกถึงความรู้ ความสามารถ และทักษะด้านดนตรีและนาฏศิลป์พื้นเมือง/กีฬา

คณะครุศาสตร์

3

โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาส้ม และการรวมกลุ่มอาชีพผู้ผลิตปลาส้มชุมชนบ้านหัวนา

ระหว่างวันที่ 30 - 31 กรกฎาคม 2563
ณ วัดจำปา บ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

- กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาส้ม

- กิจกรรมพัฒนาและออกแบบจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ปลาส้มบ้านหัวนา และรวมกลุ่มอาชีพผู้ผลิตปลาส้ม

- เกิดปลาส้มถูกสุขลักษณะ เป็นที่ต้องการของตลาด และกลุ่มผู้บริโภค
- เกิดสูตรกลางที่เป็นมาตรฐานในการผลิตปลาส้มที่ใช้ร่วมกัน
- มีโลโก้ของกลุ่มและบรรจุภัณฑ์ที่น่าสนใจ
- เกิดการรวมผู้ปลาส้มในชุมชน และจะมีการดำเนินการจดทะเบียนเป็น “กลุ่มวิสาหกิจชุมชน” กลุ่มปลาส้ม

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

4

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการตลาดออนไลน์และบัญชีต้นทุนเพื่อชุมชนเข้มแข็ง

ระหว่างวันที่ 25 - 26 กรกฎาคม 2563
ณ วัดจำปา บ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

- อบรมเชิงปฏิบัติการการตลาดออนไลน์และบัญชีต้นทุนเพื่อชุมชน”

- อบรมเชิงปฏิบัติการภายใต้หัวข้อ “การตลาดออนไลน์เพื่อชุมชน”

- อบรมเชิงปฏิบัติการภายใต้หัวข้อ “การจัดทำบัญชีครัวเรือน เพื่อชุมชน”

 

- ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับคู่มือและสมุดจัดทำบัญชีควรเรือนคนละ 1 เล่ม

- ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ในการการจัดทำบัญชีต้นทุนเบื้องต้นการตลาดออนไลน์แก่ผู้อื่นได้

- ผู้เข้าร่วมอลนใจัดทำบัญชีต้นทุนและการตลาดออนไลน์ได้อย่างต่อเนื่อง

คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี

5

โครงการถอดบทเรียนองค์ความรู้และเขียนแผนพัฒนาชุมชน

สิงหาคม 2563
ณ บ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

- ถอดบทเรียนองค์ความรู้ร่วมกับชุมชน
- กิจกรรมกลุ่มคิดวิเคราะห์ปัญหา แนวทางแก้ไข และร่วมระดมความคิดในการแก้ไขหาในชุมชนร่วมกัน
- ร่วมกับชุมชนในการเขียนแผนพัฒนาชุมชน

- สรุปเล่มองค์รู้เป็นข้อมูลในการพัฒนาชุมชน

- ชุมชนมีแผนพัฒนาชุมชน

วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง

6

โครงการส่งเสริมการอ่าน

ระหว่างวันที่ 24-25 กรกฏาคม 2563
ณ โรงเรียนบ้านหนองสาดโนนเจริญ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ

- กิจกรรมหนังสือทะลุมิติ
- กิจกรรมเล่าเรื่องจากหนังสือ
- กิจกรรมเปิดพจนานุกรมฉบับ (ไทย-อังกฤษ)
- กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ห้องสมุด   อย่างถูกต้อง
- จัดบอร์ดนิทรรศการส่งเสริมการอ่าน

นักเรียนได้รับการฝึกทักษะในด้านการอ่าน ฟัง ดู และการสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง และมีนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักการอ่านมากขึ้น ตลอดจนสามารถใช้แหล่งเรียนรู้ จากสื่อต่างๆ รอบตัวได้

สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการแก่สังคม

2. มหาวิทยาลัยมีการลงพื้นที่จัดกิจกรรมการจัดการความรู้ เรื่อง การสร้างทีมงานการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง (7.1-3(2)) เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2563 ณ บ้านหนองสาด อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประกอบด้วย คณาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ร่วมกับศูนย์พัฒนานโยบายจังหวัดศรีสะเกษ และมีผู้นำชุมชน ตัวแทนชาวบ้านหนองสาด จำนวน 20 คน เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอย  เพื่อเป็นการส่งเสริม พัฒนา และต่อยอดพื้นที่บริการวิชาการเดิมตามแผนบริการวิชาการแก่สังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีการศึกษา 2561 ให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน โดยมีผลการดำเนินงานดังนี้

ที่

โครงการ/กิจกรรม

ผลการดำเนินกิจกรรม

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

1

กิจกรรมการจัดการความรู้ เรื่อง การสร้างทีมงานการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง

- มีการบรรยายให้ความรู้จากวิทยากร
- มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการบริหารจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง
- มีการจัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงานในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
- มีการจัดทำแผนการดำเนินงานและกำหนดแนวทางการดำเนินงานร่วมกัน

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

3. มหาวิทยาลัยมีการลงพื้นที่ติดตามความยั่งยืนอันเนื่องมากจากการบริการวิชาการตามแผนบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีการศึกษา 2560 (7.1-3(3)) เมื่อวันจันทร์ที่ 13 กรกฎาคม 2563 ณ โรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ ตำบลรุง อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ พบว่าชุมชน และโรงเรียนมีผู้นำและสมาชิกที่มีการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

ที่

กิจกรรม

ผลการกำกับติดตามความยั่งยืนที่เป็นผลมาจากการโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย

ชุมชนหรือองค์กรที่ได้รับผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่า

หมายเหตุ

1

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนการเพราะเห็ด

- มีการคณะกรรมการบริหารกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
- มีการทำบัญชีรายรับรายจ่ายของสมาชิกกลุ่ม ซึ่งพบว่า ในปีการศึกษา 2562 ชุมชนมีรายได้จากการขายเห็ด จำนวน 5,000 - 7,500 บาท/ต่อครัวเรือน/เดือน
- ชุมชนมีการขยายโรงเรือนเพาะเห็นนางฟ้าเพิ่มขึ้น จากเดิม 4 โรงเรือน เป็น 7 โรงเรือน  มีเห็นนางฟ้า 3,500 – 4,000 ก้อน  และเห็ดฟาง จำนวน 200 ก้อน
- ชุมชนสามารถเป็นวิทยากรในการบรรยาย เรื่อง การเพาะเห็ดนางฟ้า อาทิ  ชุมชนได้รับเชิญจากโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ ให้เป็นวิทยากรในการเพาะเห็ดนางฟ้า การสร้างโรงเรือน การดูแล  และการบริหารจัดการ  ส่งผลให้โรงเรียนสามารถเพาะเห็ดนางฟ้า เพื่อเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน  สามารถลดรายจ่ายค่าอาหารกลางวันได้เฉลี่ย 100-200 บาทต่อมื้อ ซึ่งเห็ดนางฟ้าที่เหลือในแต่ละวัน นักเรียนก็ยังสามารถนำกลับไปประกอบอาหารที่บ้านของตนได้

ชุมชนบ้านหนองใหญ่

เป็นผลมาจากการบริการวิชาการตามแผนบริการวิชาการ ปีการศึกษา 2560

ตามโครงการเสริมสร้างทักษะอาชีพและพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองใหญ่

ผู้รับผิดชอบ : คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี

2

การบริหารจัดการขยะ

- โรงเรียนได้แต่งตั้งคณะทำงานในการคัดแยกขยะตามประเภท
- มีการต่อยอดโดยการจัดตั้งธนาคารขยะ
- ได้จัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายอย่างเป็นระบบ และนำฝากธนาคารออมสินชื่อบัญชี
- ลดปัญหาขยะในโรงเรียนและชุมชน

 

โรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

เป็นผลมาจากการบริการวิชาการตามแผนบริการวิชาการ ปีการศึกษา 2560

ตามโครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณโรงเรียนให้มีความยั่งยืน

ผู้รับผิดชอบ : คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

3

นวัตกรรมการศึกษา

บุคลากรและเจ้าหน้าที่ทางการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ได้นำนวัตกรรมการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ๆ และผลิตชุดการเรียนการสอน และชุดฝึกทักษะการเรียนรู้ รูปแบบการฝึกความคิดสร้างสรรค์ กระตุ้นความคิดของนักเรียน และสามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ดังนี้

- เด็กมีพัฒนาการเขียนการอ่าน ภาษาไทยได้ดีขึ้น ได้รับรางวัลการประกวดกิจกรรมการอ่านเอาเรื่อง ระดับ ป.1 - ป.3

- เด็กสามารถสร้างสรรค์และนำเสนอผลงานได้ดีขึ้น เป็นตัวแทนจังหวัดศรีสะเกษในการแข่งขันค้นหาสุดยอดเด็กไทยหัวใจเกษตร

- เด็กกล้าแสดงความคิดเห็น และอธิบายเหตุผลได้มากขึ้น ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดเล่าเรื่องความภูมิใจในท้องถิ่น : ภาษาอีสาน

โรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

เป็นผลมาจากการบริการวิชาการตามแผนบริการวิชาการ ปีการศึกษา 2560

ตามโครงการบริการวิชาการคณะครุศาสตร์สู่โรงเรียน

ผู้รับผิดชอบ : คณะครุศาสตร์

 

4 ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเอง โดยคงอัตลักษณ์ของคนในชุมชนและเอกลักษณ์ของท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืน

ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเอง โดยคงอัตลักษณ์ของคนในชุมชนและเอกลักษณ์ของท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืน ดังนี้

1. มหาวิทยาลัย ร่วมกับศูนย์พัฒนานโยบายจังหวัดศรีสะเกษ และชุมชนบ้านหนองสาด อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ ได้จัดกิจกรรมการจัดการความรู้ เรื่อง การสร้างทีมงานการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง (7.1-4(1)) เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2563 เพื่อสร้างกลไกในการทำงานด้านการจัดการขยะมูลฝอย ดังนี้
    1.1​​​​ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน  โดยมี  กำนันตำบลหนองสาดเป็นประธาน และมีตัวแทนคุ้มต่างๆ ของชุมชน จำนวน 19 คน เป็นคณะกรรมการ เพื่อบริหารจัดการขยะในมีประสิทธิภาพ
    1.2 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และกำหนดแนวทางการบริหารจัดการขยะในชุมชน มีการจัดทำแผน  กำหนดระยะเวลา  ผู้รับผิดชอบ และบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการที่ชัดเจน

2. โรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ ตำบลรุง อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ มีการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนและชุมชน และมีการสร้างกลไกในการขับเคลื่อน (7.1-4(2)) ดังนี้
    2.1 การบริหารจัดการขยะ
          - โรงเรียนได้แต่งตั้งคณะทำงานในการคัดแยกขยะตามประเภท
          - มีการต่อยอดโดยการจัดตั้งธนาคารขยะ
          - ได้จัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายอย่างเป็นระบบ และนำฝากธนาคารออมสินชื่อบัญชี
          - ลดปัญหาขยะในโรงเรียนและชุมชน
    2.2 นวัตกรรมการศึกษา
          บุคลากรและเจ้าหน้าที่ทางการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ได้นำนวัตกรรมการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ๆ และผลิตชุดการเรียนการสอน และชุดฝึกทักษะการเรียนรู้ รูปแบบการฝึกความคิดสร้างสรรค์ กระตุ้นความคิดของนักเรียน และสามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ดังนี้
​​​​​​​          - เด็กมีพัฒนาการเขียนการอ่าน ภาษาไทยได้ดีขึ้น ได้รับรางวัลการประกวดกิจกรรมการอ่านเอาเรื่อง ระดับ ป.1 - ป.3
​​​​​​​          - เด็กสามารถสร้างสรรค์และนำเสนอผลงานได้ดีขึ้น เป็นตัวแทนจังหวัดศรีสะเกษในการแข่งขันค้นหาสุดยอดเด็กไทยหัวใจเกษตร
​​​​​​​          - เด็กกล้าแสดงความคิดเห็น และอธิบายเหตุผลได้มากขึ้น ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดเล่าเรื่องความภูมิใจในท้องถิ่น : ภาษาอีสาน

3. บ้านหนองใหญ่ มีการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนการเพาะเห็ด ที่เข้มแข็ง และมีการสร้างกลไกในการขับเคลื่อน (7.1-4(3)) ดังนี้- มีการคณะกรรมการบริหารกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
    3.1 มีการทำบัญชีรายรับรายจ่ายของสมาชิกกลุ่ม ซึ่งพบว่า ในปีการศึกษา 2562 ชุมชนมีรายได้จากการขายเห็ด จำนวน 5,000 - 7,500 บาท/ต่อครัวเรือน/เดือน
    3.2 ชุมชนมีการขยายโรงเรือนเพาะเห็นนางฟ้าเพิ่มขึ้น จากเดิม 4 โรงเรือน เป็น 7 โรงเรือน  มีเห็นนางฟ้า 3,500 – 4,000 ก้อน  และเห็ดฟาง จำนวน 200 ก้อน
    3.3 ชุมชนสามารถเป็นวิทยากรในการบรรยาย เรื่อง การเพาะเห็ดนางฟ้า อาทิ  ชุมชนได้รับเชิญจากโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ ให้เป็นวิทยากรในการเพาะเห็ดนางฟ้า การสร้างโรงเรือน การดูแล  และการบริหารจัดการ  ส่งผลให้โรงเรียนสามารถเพาะเห็ดนางฟ้า เพื่อเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน  สามารถลดรายจ่ายค่าอาหารกลางวันได้เฉลี่ย 100-200 บาทต่อมื้อ ซึ่งเห็ดนางฟ้าที่เหลือในแต่ละวัน นักเรียนก็ยังสามารถนำกลับไปประกอบอาหารที่บ้านของตนได้

5 มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคม หรือชุมชน/องค์กรอย่างเข้มแข็ง

ชุมชนมีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคม หรือชุมชน/องค์กรอย่างเข้มแข็ง ดังนี้

1. มหาวิทยาลัย ร่วมกับทุกคณะ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้กำหนดพื้นที่บริการวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2562 จำนวน 2 ชุมชน คือ ชุมชนบ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ และชุมชนบ้านหนองสาดโนนเจริญ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ มีการสำรวจปัญหาและความต้องการของชุมชน เพื่อนำมากำหนดกิจกรรมในแผนบริการวิชาการแก่สังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีการศึกษา 2562 (7.1-5(1)) จำนวน 6 โครงการ และมีการดำเนินงานตามแผนแล้วเสร็จ จำนวน 6 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 ส่งผลให้ชุมชนมีการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

ที่

โครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน/และสถานที่

ลักษณะกิจกรรม

ผลการกำกับติดตามความยั่งยืนที่เป็นผลมาจากการโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

1

โครงการที่ปรึกษาทางอุตสาหกรรมวิสาหกิจชุมชน "ปลาร้า" บ้านหัวนา

1.1 กระบวนการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนปลาร้าบ้านหัวนา
รอบที่ 1 ระหว่างวันที่ 7-8 สิงหาคม 2563
รอบที่ 2 ระหว่างวันที่ 14-15 สิงหาคม 2563    รอบที่ 3 ระหว่างวันที่ 18-19 สิงหาคม 2563      รอบที่ 4 ระหว่างวันที่ 22-23 สิงหาคม 2563     

1.2 กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยี วิสาหกิจปลาร้าบ้านหัวนา     
วันที่ 29 สิงหาคม 2563 
ณ บ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

กิจกรรมที่ 1 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง KAIZEN   
กิจกรรมที่ 2 การลดความสูญเปล่า LEAN     กิจกรรมที่ 3 การทำให้เห็นด้วยกัน Visualization   
กิจกรรมที่ 4 การทำให้เป็นมาตรฐาน Standardize   
กิจกรรมที่ 5 เวทีขยายผล ต้นแบบการจัดการวิสาหกิจเชิงอุตสาหกรรม

- ได้ปลาร้าที่สะอาด ถูกหลักอนามัย

- วิสาหกิจชุมชนทราบต้นทุน กำไร ของการทำปลาร้า

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

2

ค่ายพัฒนาทักษะการเรียนรู้ดนตรีและกีฬา

 ระหว่างวันที่ 29 - 31 กรกฎาคม 2563              ณ โรงเรียนบ้านกอกหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

- กิจกรรมฐานพัฒนาทักษะดนตรีพื้นเมือง (กลองหาง)
- กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะดนตรีพื้นเมือง (พิณ) 
- กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะดนตรีพื้นเมือง (ซออีสาน)   
- กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะดนตรีพื้นเมือง (เครื่องประกอบจังหวะ)           
 กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะดนตรีพื้นเมือง (นาฏศิลป์พื้นเมือง)
- กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะกีฬาฟุตบอล- กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะกีฬาแฮนด์บอล
- กิจกรรมสรุปองค์ความรู้และแสดงผลงาน

- ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะดนตรีและนาฏศิลป์พื้นเมืองฝกีฬา อย่างน้อย 1 ชนิด

- ผู้เข้าร่วมโครงการได้แสดงออกถึงความรู้ ความสามารถ และทักษะด้านดนตรีและนาฏศิลป์พื้นเมือง/กีฬา

คณะครุศาสตร์

3

โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาส้ม และการรวมกลุ่มอาชีพผู้ผลิตปลาส้มชุมชนบ้านหัวนา

ระหว่างวันที่ 30 - 31 กรกฎาคม 2563
ณ วัดจำปา บ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

- กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาส้ม

- กิจกรรมพัฒนาและออกแบบจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ปลาส้มบ้านหัวนา และรวมกลุ่มอาชีพผู้ผลิตปลาส้ม

- เกิดปลาส้มถูกสุขลักษณะ เป็นที่ต้องการของตลาด และกลุ่มผู้บริโภค
- เกิดสูตรกลางที่เป็นมาตรฐานในการผลิตปลาส้มที่ใช้ร่วมกัน
- มีโลโก้ของกลุ่มและบรรจุภัณฑ์ที่น่าสนใจ
- เกิดการรวมผู้ปลาส้มในชุมชน และจะมีการดำเนินการจดทะเบียนเป็น “กลุ่มวิสาหกิจชุมชน” กลุ่มปลาส้ม

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

4

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการตลาดออนไลน์และบัญชีต้นทุนเพื่อชุมชนเข้มแข็ง

ระหว่างวันที่ 25 - 26 กรกฎาคม 2563
ณ วัดจำปา บ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

- อบรมเชิงปฏิบัติการการตลาดออนไลน์และบัญชีต้นทุนเพื่อชุมชน”

- อบรมเชิงปฏิบัติการภายใต้หัวข้อ “การตลาดออนไลน์เพื่อชุมชน”

- อบรมเชิงปฏิบัติการภายใต้หัวข้อ “การจัดทำบัญชีครัวเรือน เพื่อชุมชน”

 

- ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับคู่มือและสมุดจัดทำบัญชีควรเรือนคนละ 1 เล่ม

- ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ในการการจัดทำบัญชีต้นทุนเบื้องต้นการตลาดออนไลน์แก่ผู้อื่นได้

- ผู้เข้าร่วมอลนใจัดทำบัญชีต้นทุนและการตลาดออนไลน์ได้อย่างต่อเนื่อง

คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี

5

โครงการถอดบทเรียนองค์ความรู้และเขียนแผนพัฒนาชุมชน

สิงหาคม 2563
ณ บ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

- ถอดบทเรียนองค์ความรู้ร่วมกับชุมชน
- กิจกรรมกลุ่มคิดวิเคราะห์ปัญหา แนวทางแก้ไข และร่วมระดมความคิดในการแก้ไขหาในชุมชนร่วมกัน
- ร่วมกับชุมชนในการเขียนแผนพัฒนาชุมชน

- สรุปเล่มองค์รู้เป็นข้อมูลในการพัฒนาชุมชน

- ชุมชนมีแผนพัฒนาชุมชน

วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง

6

โครงการส่งเสริมการอ่าน

ระหว่างวันที่ 24-25 กรกฏาคม 2563
ณ โรงเรียนบ้านหนองสาดโนนเจริญ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ

- กิจกรรมหนังสือทะลุมิติ
- กิจกรรมเล่าเรื่องจากหนังสือ
- กิจกรรมเปิดพจนานุกรมฉบับ (ไทย-อังกฤษ)
- กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ห้องสมุด   อย่างถูกต้อง
- จัดบอร์ดนิทรรศการส่งเสริมการอ่าน

นักเรียนได้รับการฝึกทักษะในด้านการอ่าน ฟัง ดู และการสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง และมีนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักการอ่านมากขึ้น ตลอดจนสามารถใช้แหล่งเรียนรู้ จากสื่อต่างๆ รอบตัวได้

สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการแก่สังคม

2. มหาวิทยาลัยมีการลงพื้นที่จัดกิจกรรมการจัดการความรู้ เรื่อง การสร้างทีมงานการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง (7.1-5(2)) เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2563 ณ บ้านหนองสาด อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประกอบด้วย คณาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ร่วมกับศูนย์พัฒนานโยบายจังหวัดศรีสะเกษ และมีผู้นำชุมชน ตัวแทนชาวบ้านหนองสาด จำนวน 20 คน เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอย  เพื่อเป็นการส่งเสริม พัฒนา และต่อยอดพื้นที่บริการวิชาการเดิมตามแผนบริการวิชาการแก่สังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีการศึกษา 2561 ให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน โดยมีผลการดำเนินงานดังนี้

ที่

โครงการ/กิจกรรม

ผลการดำเนินกิจกรรม

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

1

กิจกรรมการจัดการความรู้ เรื่อง การสร้างทีมงานการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง

- มีการบรรยายให้ความรู้จากวิทยากร
- มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการบริหารจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง
- มีการจัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงานในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
- มีการจัดทำแผนการดำเนินงานและกำหนดแนวทางการดำเนินงานร่วมกัน

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

3. มหาวิทยาลัยมีการลงพื้นที่ติดตามความยั่งยืนอันเนื่องมากจากการบริการวิชาการตามแผนบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีการศึกษา 2560 (7.1-5(3)) เมื่อวันจันทร์ที่ 13 กรกฎาคม 2563 ณ โรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ ตำบลรุง อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ พบว่าชุมชน และโรงเรียนมีผู้นำและสมาชิกที่มีการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

ที่

กิจกรรม

ผลการกำกับติดตามความยั่งยืนที่เป็นผลมาจากการโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย

ชุมชนหรือองค์กรที่ได้รับผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่า

หมายเหตุ

1

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนการเพราะเห็ด

- มีการคณะกรรมการบริหารกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
- มีการทำบัญชีรายรับรายจ่ายของสมาชิกกลุ่ม ซึ่งพบว่า ในปีการศึกษา 2562 ชุมชนมีรายได้จากการขายเห็ด จำนวน 5,000 - 7,500 บาท/ต่อครัวเรือน/เดือน
- ชุมชนมีการขยายโรงเรือนเพาะเห็นนางฟ้าเพิ่มขึ้น จากเดิม 4 โรงเรือน เป็น 7 โรงเรือน  มีเห็นนางฟ้า 3,500 – 4,000 ก้อน  และเห็ดฟาง จำนวน 200 ก้อน
- ชุมชนสามารถเป็นวิทยากรในการบรรยาย เรื่อง การเพาะเห็ดนางฟ้า อาทิ  ชุมชนได้รับเชิญจากโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ ให้เป็นวิทยากรในการเพาะเห็ดนางฟ้า การสร้างโรงเรือน การดูแล  และการบริหารจัดการ  ส่งผลให้โรงเรียนสามารถเพาะเห็ดนางฟ้า เพื่อเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน  สามารถลดรายจ่ายค่าอาหารกลางวันได้เฉลี่ย 100-200 บาทต่อมื้อ ซึ่งเห็ดนางฟ้าที่เหลือในแต่ละวัน นักเรียนก็ยังสามารถนำกลับไปประกอบอาหารที่บ้านของตนได้

ชุมชนบ้านหนองใหญ่

เป็นผลมาจากการบริการวิชาการตามแผนบริการวิชาการ ปีการศึกษา 2560

ตามโครงการเสริมสร้างทักษะอาชีพและพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองใหญ่

ผู้รับผิดชอบ : คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี

2

การบริหารจัดการขยะ

- โรงเรียนได้แต่งตั้งคณะทำงานในการคัดแยกขยะตามประเภท
- มีการต่อยอดโดยการจัดตั้งธนาคารขยะ
- ได้จัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายอย่างเป็นระบบ และนำฝากธนาคารออมสินชื่อบัญชี
- ลดปัญหาขยะในโรงเรียนและชุมชน

 

โรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

เป็นผลมาจากการบริการวิชาการตามแผนบริการวิชาการ ปีการศึกษา 2560

ตามโครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณโรงเรียนให้มีความยั่งยืน

ผู้รับผิดชอบ : คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

3

นวัตกรรมการศึกษา

บุคลากรและเจ้าหน้าที่ทางการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ได้นำนวัตกรรมการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ๆ และผลิตชุดการเรียนการสอน และชุดฝึกทักษะการเรียนรู้ รูปแบบการฝึกความคิดสร้างสรรค์ กระตุ้นความคิดของนักเรียน และสามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ดังนี้

- เด็กมีพัฒนาการเขียนการอ่าน ภาษาไทยได้ดีขึ้น ได้รับรางวัลการประกวดกิจกรรมการอ่านเอาเรื่อง ระดับ ป.1 - ป.3

- เด็กสามารถสร้างสรรค์และนำเสนอผลงานได้ดีขึ้น เป็นตัวแทนจังหวัดศรีสะเกษในการแข่งขันค้นหาสุดยอดเด็กไทยหัวใจเกษตร

- เด็กกล้าแสดงความคิดเห็น และอธิบายเหตุผลได้มากขึ้น ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดเล่าเรื่องความภูมิใจในท้องถิ่น : ภาษาอีสาน

โรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

เป็นผลมาจากการบริการวิชาการตามแผนบริการวิชาการ ปีการศึกษา 2560

ตามโครงการบริการวิชาการคณะครุศาสตร์สู่โรงเรียน

ผู้รับผิดชอบ : คณะครุศาสตร์

6 เกิดชุมชนต้นแบบด้านการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ที่มีคณะและมหาวิทยาลัย เป็นผู้รับผิดชอบร่วมในการพัฒนาอย่างน้อย 1 ชุมชน

มีชุมชนต้นแบบ พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ที่เกิดจากคณะและมหาวิทยาลัย เป็นผู้รับผิดชอบร่วมกันในการพัฒนา จำนวน 3 ชุมชน ดังนี้

1. ชุมชนบ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ 
    ทุกคณะมีส่วนร่วมในการบริการวิชาการกับสถาบัน ตั้งแต่กระบวนการ เป็นคณะกรรมการดำเนินงาน (7.1-6(1)) เป็นผู้รับผิดชอบโครงการตามแผน (7.1-6(2)) ส่งผลให้ ชุมชนบ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน (7.1-6(3)) ดังนี้

ที่

โครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน/และสถานที่

ลักษณะกิจกรรม

ผลการกำกับติดตามความยั่งยืนที่เป็นผลมาจากการโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

1

โครงการที่ปรึกษาทางอุตสาหกรรมวิสาหกิจชุมชน "ปลาร้า" บ้านหัวนา

1.1 กระบวนการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนปลาร้าบ้านหัวนา
รอบที่ 1 ระหว่างวันที่ 7-8 สิงหาคม 2563
รอบที่ 2 ระหว่างวันที่ 14-15 สิงหาคม 2563    รอบที่ 3 ระหว่างวันที่ 18-19 สิงหาคม 2563      รอบที่ 4 ระหว่างวันที่ 22-23 สิงหาคม 2563     

1.2 กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยี วิสาหกิจปลาร้าบ้านหัวนา     
วันที่ 29 สิงหาคม 2563 
ณ บ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

กิจกรรมที่ 1 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง KAIZEN   
กิจกรรมที่ 2 การลดความสูญเปล่า LEAN     กิจกรรมที่ 3 การทำให้เห็นด้วยกัน Visualization   
กิจกรรมที่ 4 การทำให้เป็นมาตรฐาน Standardize   
กิจกรรมที่ 5 เวทีขยายผล ต้นแบบการจัดการวิสาหกิจเชิงอุตสาหกรรม

- ได้ปลาร้าที่สะอาด ถูกหลักอนามัย

- วิสาหกิจชุมชนทราบต้นทุน กำไร ของการทำปลาร้า

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

2

ค่ายพัฒนาทักษะการเรียนรู้ดนตรีและกีฬา

ระหว่างวันที่ 29 - 31 กรกฎาคม 2563             
ณ โรงเรียนบ้านกอกหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

- กิจกรรมฐานพัฒนาทักษะดนตรีพื้นเมือง (กลองหาง)
- กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะดนตรีพื้นเมือง (พิณ) 
- กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะดนตรีพื้นเมือง (ซออีสาน)   
- กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะดนตรีพื้นเมือง (เครื่องประกอบจังหวะ)           
 กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะดนตรีพื้นเมือง (นาฏศิลป์พื้นเมือง)
- กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะกีฬาฟุตบอล- กลุ่มฐานกิจกรรมพัฒนาทักษะกีฬาแฮนด์บอล
- กิจกรรมสรุปองค์ความรู้และแสดงผลงาน

- ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะดนตรีและนาฏศิลป์พื้นเมืองฝกีฬา อย่างน้อย 1 ชนิด

- ผู้เข้าร่วมโครงการได้แสดงออกถึงความรู้ ความสามารถ และทักษะด้านดนตรีและนาฏศิลป์พื้นเมือง/กีฬา

คณะครุศาสตร์

3

โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาส้ม และการรวมกลุ่มอาชีพผู้ผลิตปลาส้มชุมชนบ้านหัวนา

ระหว่างวันที่ 30 - 31 กรกฎาคม 2563
ณ วัดจำปา บ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

- กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาส้ม

- กิจกรรมพัฒนาและออกแบบจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ปลาส้มบ้านหัวนา และรวมกลุ่มอาชีพผู้ผลิตปลาส้ม

- เกิดปลาส้มถูกสุขลักษณะ เป็นที่ต้องการของตลาด และกลุ่มผู้บริโภค
- เกิดสูตรกลางที่เป็นมาตรฐานในการผลิตปลาส้มที่ใช้ร่วมกัน
- มีโลโก้ของกลุ่มและบรรจุภัณฑ์ที่น่าสนใจ
- เกิดการรวมผู้ปลาส้มในชุมชน และจะมีการดำเนินการจดทะเบียนเป็น “กลุ่มวิสาหกิจชุมชน” กลุ่มปลาส้ม

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

4

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการตลาดออนไลน์และบัญชีต้นทุนเพื่อชุมชนเข้มแข็ง

ระหว่างวันที่ 25 - 26 กรกฎาคม 2563
ณ วัดจำปา บ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

- อบรมเชิงปฏิบัติการการตลาดออนไลน์และบัญชีต้นทุนเพื่อชุมชน”

- อบรมเชิงปฏิบัติการภายใต้หัวข้อ “การตลาดออนไลน์เพื่อชุมชน”

- อบรมเชิงปฏิบัติการภายใต้หัวข้อ “การจัดทำบัญชีครัวเรือน เพื่อชุมชน”

 

- ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับคู่มือและสมุดจัดทำบัญชีควรเรือนคนละ 1 เล่ม

- ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ในการการจัดทำบัญชีต้นทุนเบื้องต้นการตลาดออนไลน์แก่ผู้อื่นได้

- ผู้เข้าร่วมอลนใจัดทำบัญชีต้นทุนและการตลาดออนไลน์ได้อย่างต่อเนื่อง

คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี

5

โครงการถอดบทเรียนองค์ความรู้และเขียนแผนพัฒนาชุมชน

สิงหาคม 2563
ณ บ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

- ถอดบทเรียนองค์ความรู้ร่วมกับชุมชน
- กิจกรรมกลุ่มคิดวิเคราะห์ปัญหา แนวทางแก้ไข และร่วมระดมความคิดในการแก้ไขหาในชุมชนร่วมกัน
- ร่วมกับชุมชนในการเขียนแผนพัฒนาชุมชน

- สรุปเล่มองค์รู้เป็นข้อมูลในการพัฒนาชุมชน

- ชุมชนมีแผนพัฒนาชุมชน

วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง

6

โครงการส่งเสริมการอ่าน

ระหว่างวันที่ 24-25 กรกฏาคม 2563
ณ โรงเรียนบ้านหนองสาดโนนเจริญ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ

- กิจกรรมหนังสือทะลุมิติ
- กิจกรรมเล่าเรื่องจากหนังสือ
- กิจกรรมเปิดพจนานุกรมฉบับ (ไทย-อังกฤษ)
- กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ห้องสมุด   อย่างถูกต้อง
- จัดบอร์ดนิทรรศการส่งเสริมการอ่าน

นักเรียนได้รับการฝึกทักษะในด้านการอ่าน ฟัง ดู และการสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง และมีนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักการอ่านมากขึ้น ตลอดจนสามารถใช้แหล่งเรียนรู้ จากสื่อต่างๆ รอบตัวได้

สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการแก่สังคม

2. บ้านหนองสาดโนนเจริญ ตำบลหนองครก อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ 
    ทุกคณะมีส่วนร่วมในการบริการวิชาการกับสถาบัน ตั้งแต่กระบวนการ เป็นคณะกรรมการดำเนินงาน (7.1-6(4)) เป็นผู้รับผิดชอบโครงการตามแผน (7.1-6(5)) ส่งผลให้ บ้านหนองสาดโนนเจริญ ตำบลหนองครก อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ  พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน (7.1-6(6)) ดังนี้

ที่

โครงการ/กิจกรรม

ผลการดำเนินกิจกรรม

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

1

กิจกรรมการจัดการความรู้ เรื่อง การสร้างทีมงานการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง

- มีการบรรยายให้ความรู้จากวิทยากร
- มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการบริหารจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง
- มีการจัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงานในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
- มีการจัดทำแผนการดำเนินงานและกำหนดแนวทางการดำเนินงานร่วมกัน

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

3. โรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ ตำบลรุง อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ
    ทุกคณะมีส่วนร่วมในการบริการวิชาการกับสถาบัน ตั้งแต่กระบวนการ เป็นคณะกรรมการดำเนินงาน (7.1-6(7)) เป็นผู้รับผิดชอบโครงการตามแผน (7.1-6(8)) ส่งผลให้ โรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ ตำบลรุง อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน (7.1-6(9)) ดังนี้

ที่

กิจกรรม

ผลการกำกับติดตามความยั่งยืนที่เป็นผลมาจากการโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย

ชุมชนหรือองค์กรที่ได้รับผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่า

หมายเหตุ

1

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนการเพราะเห็ด

- มีการคณะกรรมการบริหารกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
- มีการทำบัญชีรายรับรายจ่ายของสมาชิกกลุ่ม ซึ่งพบว่า ในปีการศึกษา 2562 ชุมชนมีรายได้จากการขายเห็ด จำนวน 5,000 - 7,500 บาท/ต่อครัวเรือน/เดือน
- ชุมชนมีการขยายโรงเรือนเพาะเห็นนางฟ้าเพิ่มขึ้น จากเดิม 4 โรงเรือน เป็น 7 โรงเรือน  มีเห็นนางฟ้า 3,500 – 4,000 ก้อน  และเห็ดฟาง จำนวน 200 ก้อน
- ชุมชนสามารถเป็นวิทยากรในการบรรยาย เรื่อง การเพาะเห็ดนางฟ้า อาทิ  ชุมชนได้รับเชิญจากโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ ให้เป็นวิทยากรในการเพาะเห็ดนางฟ้า การสร้างโรงเรือน การดูแล  และการบริหารจัดการ  ส่งผลให้โรงเรียนสามารถเพาะเห็ดนางฟ้า เพื่อเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน  สามารถลดรายจ่ายค่าอาหารกลางวันได้เฉลี่ย 100-200 บาทต่อมื้อ ซึ่งเห็ดนางฟ้าที่เหลือในแต่ละวัน นักเรียนก็ยังสามารถนำกลับไปประกอบอาหารที่บ้านของตนได้

ชุมชนบ้านหนองใหญ่

เป็นผลมาจากการบริการวิชาการตามแผนบริการวิชาการ ปีการศึกษา 2560

ตามโครงการเสริมสร้างทักษะอาชีพและพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองใหญ่

ผู้รับผิดชอบ : คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี

2

การบริหารจัดการขยะ

- โรงเรียนได้แต่งตั้งคณะทำงานในการคัดแยกขยะตามประเภท
- มีการต่อยอดโดยการจัดตั้งธนาคารขยะ
- ได้จัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายอย่างเป็นระบบ และนำฝากธนาคารออมสินชื่อบัญชี
- ลดปัญหาขยะในโรงเรียนและชุมชน

 

โรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

เป็นผลมาจากการบริการวิชาการตามแผนบริการวิชาการ ปีการศึกษา 2560

ตามโครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณโรงเรียนให้มีความยั่งยืน

ผู้รับผิดชอบ : คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

3

นวัตกรรมการศึกษา

บุคลากรและเจ้าหน้าที่ทางการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ได้นำนวัตกรรมการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ๆ และผลิตชุดการเรียนการสอน และชุดฝึกทักษะการเรียนรู้ รูปแบบการฝึกความคิดสร้างสรรค์ กระตุ้นความคิดของนักเรียน และสามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ดังนี้

- เด็กมีพัฒนาการเขียนการอ่าน ภาษาไทยได้ดีขึ้น ได้รับรางวัลการประกวดกิจกรรมการอ่านเอาเรื่อง ระดับ ป.1 - ป.3

- เด็กสามารถสร้างสรรค์และนำเสนอผลงานได้ดีขึ้น เป็นตัวแทนจังหวัดศรีสะเกษในการแข่งขันค้นหาสุดยอดเด็กไทยหัวใจเกษตร

- เด็กกล้าแสดงความคิดเห็น และอธิบายเหตุผลได้มากขึ้น ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดเล่าเรื่องความภูมิใจในท้องถิ่น : ภาษาอีสาน

โรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

เป็นผลมาจากการบริการวิชาการตามแผนบริการวิชาการ ปีการศึกษา 2560

ตามโครงการบริการวิชาการคณะครุศาสตร์สู่โรงเรียน

ผู้รับผิดชอบ : คณะครุศาสตร์

ผลคะแนนการประเมินตนเอง
ทำได้ (ข้อ) ได้คะแนน
6 5