ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558

ปีที่ประเมิน 2563
ผู้ดูแลตัวบ่งชี้ : ปรารถนา มะลิไทย , อลงกต แผนสนิท
หมายเหตุ

เกณฑ์การประเมินดังกล่าวเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552

ผลการประเมินตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กำหนดไว้เป็น “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” หากไม่ผ่านเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ถือว่า หลักสูตรไม่ได้มาตรฐาน และผลเป็น “ไม่ผ่าน” (คะแนนเป็น ศูนย์)

หลักฐานเอกสารที่ต้องการนอกเหนือจากเอกสารประกอบแต่ละรายตัวบ่งชี้

  1. เอกสารหลักสูตรฉบับที่ สกอ. ประทับตรารับทราบ
  2. หนังสือนำที่ สกอ. แจ้งรับทราบหลักสูตร (ถ้ามี)
  3. กรณีหลักสูตรยังไม่ได้แจ้งการรับทราบ ให้มีหนังสือนำส่ง สกอ. หรือหนังสือส่งคืนจาก สกอ. และรายงานการประชุมสภาที่อนุมัติ/ให้ความเห็นชอบหลักสูตร
เกณฑ์มาตรฐาน
ระดับ เกณฑ์มาตรฐาน ดำเนินการ
1 จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
2 คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
3 คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
4 คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน
10 การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
ผลการดำเนินงาน
ตนข้อเกณฑ์ผลการดำเนินงานหลักฐาน
1จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มีจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบทั้ง 5 คน ประกอบด้วย

     1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัญวรัตน์  แจ่มใส

     2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปรารถนา  มะลิไทย

     3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปณัยกร  บุญกอบ

     4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประจวบ  จันทร์หมื่น

     5. นายประเสริฐ  บัวจันอัฐ

     ซึ่งอาจารย์ประจำหลักสูตรทั้ง 5 คน เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรเพียงหลักสูตรเดียว และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2559 ถึงเดือนพฤษภาคม 2564 เป็นระยะเวลา 5 ปี

2คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจำนวน 5 คน อยู่ประจำตลอดปีการศึกษา 2563 และเป็นผู้ที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกและโทตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
โดยสำเร็จการศึกษาปริญญาทางรัฐประศาสนศาสตร์และสาขาที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นองค์ประกอบของรายวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรนี้ ดังรายชื่อต่อไปนี้

1. นางสาวธัญวรัตน์  แจ่มใส
คุณวุฒิ
รป.ด. (นโยบายสาธารณะ) มหาวิทยาลัยบูรพา
รป.ม. (การจัดการภาครัฐและเอกชน) สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์
รบ. (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ตำแหน่งทางวิชาการ  : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. นางสาวปรารถนา   มะลิไทย
คุณวุฒิ
รป.ม. (นโยบายสาธารณะ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
รบ. (บริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ตำแหน่งทางวิชาการ  : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

3. นายปณัยกร   บุญกอบ
คุณวุฒิ
รป.ม. (การบริหารการเงินการคลัง) สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์

รบ. (การปกครอง) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตำแหน่งทางวิชาการ  : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4. นายประจวบ  จันทร์หมื่น
คุณวุฒิ
ปร.ด. (ไทคดีศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
รป.ม. (การปกครองท้องถิ่น) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ศศ.บ. (พัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ตำแหน่งทางวิชาการ  : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

5. นายประเสริฐ  บัวจันอัฐ
คุณวุฒิ
รป.ม. (การปกครองท้องถิ่น) มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
บธ.บ. (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

ตำแหน่งทางวิชาการ  : อาจารย์

3คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร

ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มีอาจารย์ประจำหลักสูตรจำนวน 7 คน ซึ่งเป็นผู้ที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกและโทตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ โดยสำเร็จการศึกษาปริญญาทางรัฐประศาสนศาสตร์และสาขาที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นองค์ประกอบของรายวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรนี้ ดังรายชื่อต่อไปนี้

1. นางสาวธัญวรัตน์  แจ่มใส

คุณวุฒิ

รป.ด. (นโยบายสาธารณะ) มหาวิทยาลัยบูรพา
รป.ม. (การจัดการภาครัฐและเอกชน) สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์
รบ. (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ตำแหน่งทางวิชาการ  : ผู้ช่วยศาสตราจารย์
 

2. นางสาวปรารถนา   มะลิไทย

คุณวุฒิ

รป.ม. (นโยบายสาธารณะ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
รบ. (บริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ตำแหน่งทางวิชาการ  : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

3. นายปณัยกร   บุญกอบ

รป.ม. (การบริหารการเงินการคลัง) สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์

รบ. (การปกครอง) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ตำแหน่งทางวิชาการ  : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4. นายประจวบ  จันทร์หมื่น

คุณวุฒิ

ปร.ด. (ไทคดีศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
รป.ม. (การปกครองท้องถิ่น) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ศศ.บ. (พัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ตำแหน่งทางวิชาการ  : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

5. นายประเสริฐ  บัวจันอัฐ

คุณวุฒิ
รป.ม. (การปกครองท้องถิ่น) มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
บธ.บ. (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
ตำแหน่งทางวิชาการ  : อาจารย์

6. นายเอกพงษ์ วงศ์คำจันทร์

คุณวุฒิ
Ph.D. (Social Anthropology) Panjab University Chanigarh,India
ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา-สังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม
กศ.บ. (สังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม
ตำแหน่งทางวิชาการ  : รองศาสตราจารย์

7. นายอลงกต แผนสนิท

ปร.ด.(รัฐประศาสนศาสตร) มหาวิทยาลัยศรีปทุม
รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์
บธ.บ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

ตำแหน่งทางวิชาการ  : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน

  ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตมีอาจารย์ผู้สอน จำนวน 7 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกและโทตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ โดยสำเร็จการศึกษาปริญญาทางรัฐประศาสนศาสตร์และสาขาที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นองค์ประกอบของรายวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรนี้ ดังรายรายละเอียดต่อไปนี้

อาจารย์ประจำหลักสูตร : จำนวน 7 คน
คุณวุฒิปริญญาเอก จำนวน 4 คน
คุณวุฒิปริญญาโท จำนวน 3 คน
รองศาสตราจารย์ จำนวน 1 คน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จำนวน 4 คน

อาจารย์ผู้สอนทุกคนมีคุณวุฒิที่ตรงกับสาขาวิชาและรายวิชาที่สอน
1. นางสาวธัญวรัตน์  แจ่มใส

คุณวุฒิ

รป.ด. (นโยบายสาธารณะ) มหาวิทยาลัยบูรพา
รป.ม. (การจัดการภาครัฐและเอกชน) สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์
รบ. (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ตำแหน่งทางวิชาการ  : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. นางสาวปรารถนา   มะลิไทย

คุณวุฒิ

รป.ม. (นโยบายสาธารณะ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
รบ. (บริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ตำแหน่งทางวิชาการ  : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

3. นายปณัยกร   บุญกอบ

รป.ม. (การบริหารการเงินการคลัง) สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์

รบ. (การปกครอง) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตำแหน่งทางวิชาการ  : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4. นายประจวบ  จันทร์หมื่น

คุณวุฒิ

ปร.ด. (ไทคดีศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
รป.ม. (การปกครองท้องถิ่น) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ศศ.บ. (พัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ตำแหน่งทางวิชาการ  : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

5. นายประเสริฐ  บัวจันอัฐ

คุณวุฒิ

รป.ม. (การปกครองท้องถิ่น) มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
บธ.บ. (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
ตำแหน่งทางวิชาการ  : อาจารย์

6. นายเอกพงษ์ วงศ์คำจันทร์

คุณวุฒิ
Ph.D. (Social Anthropology) Panjab University Chanigarh,India
ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา-สังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม
กศ.บ. (สังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม
ตำแหน่งทางวิชาการ  : รองศาสตราจารย์

7. นายอลงกต แผนสนิท

ปร.ด.(รัฐประศาสนศาสตร) มหาวิทยาลัยศรีปทุม
รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์
บธ.บ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

ตำแหน่งทางวิชาการ  : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

10การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต เริ่มเปิดสอนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2551 ซึ่งได้มีการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาดังนี้

     1. ปรับปรุงหลักสูตร ครั้งที่ 2 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุงพ.ศ. 2555)

     2. ปรับปรุงหลักสูตร ครั้งที่ 3 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) โดยรายละเอียดในการปรับปรุงประกอบด้วย

  • ชื่อ ตำแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
  • จำนวนหน่วยกิตกลุ่มวิชาเอกบังคับจากเดิมไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต ปรับเป็นไม่น้อยกว่า 75 หน่วยกิต
  • สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม และการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับบริบทของสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง

   ซึ่งการปรับปรุงหลักสูตร ครั้งที่ 3 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) สภาวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ได้ให้ความเห็นชอบหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2559 สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ อนุมัติหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่ 1/2559 วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2559 และหลักสูตรได้ผ่านการเห็นชอบจากพิจารณารับทราบและให้ความเห็นชอบหลักสูตรจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเมื่อวันที่  21  มิถุนายน  2559

     3. ปรับปรุงหลักสูตรครั้งที่ 4 ปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้มีการประชุมเตรียมความพร้อมสำหรับการปรับปรุงหลักสูตรซึ่งจะครบวงรอบการปรับปรุงในปี พ.ศ. 2564 โดยได้มีการวิพากษ์หลักสูตร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2564) เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2563  ทั้งนี้สภาวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เห็นชอบหลักสูตรในการประชุม  ครั้งที่ 10/2563 วันที่ 16 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2563

สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ อนุมัติหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่ 11/2563 วันที่ 27 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2563 ในการปรับปรุงหลักสูตรฯ มีรายละเอียดการปรับปรุงดังนี้

  • หลักสูตรได้ปรับสาระรายวิชาให้สอดคล้องกับสถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม และการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับบริบทของศตวรรษที่ 21 ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏระยะ 20 ปี
  • หลักสูตรได้มีการเปลี่ยนแปลงรายชื่อของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจากเดิม ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.ประจวบ จันทร์หมื่น เป็น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อลงกต  แผนสนิท 

 

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ 2559

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ 2564

1. ผศ.ดร. ธัญวรัตน์  แจ่มใส

1. ผศ.ดร. ธัญวรัตน์  แจ่มใส

2. ผศ..ปรารถนา  มะลิไทย

2. ผศ..ปรารถนา  มะลิไทย

3. ผศ. ปณัยกร  บุญกอบ

3. ผศ. ปณัยกร  บุญกอบ

4. ดร. ประจวบ จันทร์หมื่น

4. ผศ.ดร.อลงกต  แผนสนิท

5. นายประเสริฐ  บัวจันอัฐ

5. นายประเสริฐ  บัวจันอัฐ

 

  • อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 5 คนมีผลงานทางวิชาการ 5 ปีย้อนหลัง ดังนี้

 

ชื่อ - สกุล
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ผลงานทางวิชาการย้อนหลัง 5 ปี

  1. ผศ.ดร. ธัญวรัตน์ แจ่มใส

ธัญวรัตน์ แจ่มใส และอานนท์ ตั้งพิทักษ์ไกร (2560). แนวทางเสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริการจัดการป่าชุมชน ตำบลหนองครก อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ. ตีพิมพ์และเผยแพร่. วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. ปีที่12(3) ; 102-110. (TCI 1)

ธัญวรัตน์  แจ่มใสและศรณรงค์  ปล่องทอง (2561). การศึกษาพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีผลต่อสุขภาพและชุมชน และทัศนคติที่มีต่อวัฒนธรรมการดื่มของกลุ่มชาติพันธุ์ลาว กูย และเขมร: กรณีศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ.ตีพิมพ์และเผยแพร่. วารสารมนุษย์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. ปีที่20(2) ; 145-161. (TCI 1)

ธัญวรัตน์  แจ่มใส (2562).  แนวทางการบริหารจัดการการเกษตรที่เหมาะสมในพื้นที่ต้นน้ำจังหวัดศรีสะเกษ.ตีพิมพ์และเผยแพร่. วารสารมนุษย์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. ปีที่21(2) ; 79-88. (TCI 1)

  1. ปรารถนา มะลิไทย

ปรารถนา มะลิไทย, อลงกต แผนสนิท, อรทัย ทองลอย,
ณิชกานต์ เสน่หา. (2561). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาล ตำบลขุนหาญ อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ.การประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 7/2561 วันที่ 26 เดือนตุลาคม 2561 ณ  มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 239 - 240.        

ปรารถนา มะลิไทย,  อดิศร มวลมะณี, กิตติกร กระดานพล. (2561). ประสิทธิภาพในการจัดเบี้ยยังชีพสำหรับผู้สูงอายุองค์การบริหาส่วนตำบลพรหมสวัสดิ์ อำเภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ. การประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 7/2561 วันที่ 26 เดือนตุลาคม 2561 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 241 - 242.

  1. ผศ.ปณัยกร บัญกอบ

ปณัยกร  บุญกอบ (2562). ความสามารถในการจัดเก็บรายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ เพื่อส่งเสริมการกระจายอำนาจการคลังท้องถิ่น. การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัย ระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 11 “เสริมพลัง : ต่อยอดงานวิจัยเพื่อประโยชน์ต่อชุมชนสู่ความยั่งยืน” ณ อาคารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี วันที่ 30 มีนาคม 2562.
ปณัยกร  บุญกอบ (2561). การกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศึกษาเฉพาะกรณีการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายให้เทศบาลเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ” ในการประชุมวิชาการระดับชาติ สำหรับบุคลากรสายวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 10 ณ ห้องประชุมช้างเผือก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ในวันที่ 11 พฤษภาคม 2561.         
ปณัยกร บุญกอบ (2560). ธรรมาภิบาลส่วนบริหารของสำนักงานยุทธศาสตร์จังหวัดศรีสะเกษ”
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 “มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บริบทและทิศทางประเทศไทย 4.0”
ณ  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี วันที่ 31 สิงหาคม 2560.         

  1. ผศ.ดร.ประจวบ จันทร์หมื่น

ประจวบ จันทร์หมื่น (2558) โครงการวิจัยเส้นทางการท่องเที่ยวและแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนลุ่มน้ำโขงไทย-ลาว กรณีศึกษาจากนครพนมถึงอุบลราชธานีและจากแขวงคำม่วนถึงจำปาสัก .สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.กรุงเทพฯ

ประจวบ จันทร์หมื่น (2560) โครงการวิจัยการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ท่องเที่ยวเชื่อมโยงไทย-ลาว กรณีศึกษา นครพนม-คำม่วน มุกดาหาร-   สหวันนะเขต .สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.กรุงเทพฯ

ประจวบ จันทร์หมื่น (2562) ศักยภาพการท่องเที่ยววิถีคลองในประเทศไทย กรณี ศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.).กรุงเทพฯ

ประจวบ จันทร์หมื่น (2560) อำนาจในสังคมหลังชาวนา: มองผ่านพิธีกรรม งานบุญผะเหวดของคนอีสาน.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560.มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (TCI ฐาน 2)

ประจวบ จันทร์หมื่น (2562) ระบบโลจิสติกส์เพื่อการท่องเที่ยวเชื่อมโยงตามลำน้ำโขงไทย-ลาว กรณีศึกษา พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร-สะหวัน-เซโน และนครพนม-ท่าแขก .วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มหาวิทยาลัยบูรพา.ชลบุรี (TCI กลุ่มที่ 1)

 

  1. นายประเสริฐ บัวจันอัฐ

ประเสริฐ  บัวจันอัฐ (2561). แนวทางการจัดการขยะชุมชนแบบมีส่วนร่วมของประชาชน กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลตาโกน อำเภอเมืองจันทร์จังหวัดศรีสะเกษ”. ตีพิมพ์และเผยแพร่วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. ปีที่20(2). (TCI 1)

ผลคะแนนการประเมินตนเอง
ทำได้ (ข้อ) ได้คะแนน
ผ่าน