ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน

ปีที่ประเมิน 2564
ผู้ดูแลตัวบ่งชี้ : ชยานันท์ แก้วเกิด , พรรทิภา พรมมา , สุชาติ ศรีชื่น
ชนิดตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
คำอธิบายตัวบ่งชี้

หน่วยงานสนับสนุนเป็นหน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอน และการบริหาร หรือสนับสนุนพันธกิจ ด้านอื่นๆ ของมหาวิทยาลัย จําเป็นต้องมีการจัดทําแผนกลยุทธ์เพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนาและการดําเนินงาน ของหน่วยงานให้สอดคล้องกับเป้าหมาย ซึ่งหน่วยงานต้องกําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมองค์กร ตลอดจน มีพิจารณาอัตลักษณ์หรือจุดเน้นของหน่วยงานแล้ว จะต้องคํานึงถึง กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว มาตรฐาน การศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ ทั้งระดับชาติ และระดับสถาบัน ทั้งนี้เพื่อให้การดําเนินงานของหน่วยงานเป็นไปอย่างมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ และสามารถ ตอบสนองสังคมในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม

เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
เกณฑ์มาตรฐาน
ระดับ เกณฑ์มาตรฐาน ดำเนินการ
1 มีการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ ของหน่วยงานจากผลการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน อุปสรรค โอกาสกับวิสัยทัศน์ที่มาจากการมีส่วนร่วมของบุคลากรหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยเชื่อมโยงวิสัยทัศน์ พันธกิจของหน่วยงาน ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งกําหนดกลยุทธ์ มาตรการหรือแนวทางการดําเนินงาน ตัวชี้วัดความสําเร็จและค่าเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์ ในแต่ละปี ทั้งนี้แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานจะต้องผ่าน การอนุมัติเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําหน่วยงาน
2 มีการแปลงแผนยุทธศาสตร์ เป็นแผนปฏิบัติการประจําปีครบตามพันธกิจของหน่วยงาน โดยกําหนด กลยุทธ์ มาตรการหรือแนวทางการดําเนินงาน โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายความสําเร็จของแต่ละตัวชี้วัด ในแผนปฏิบัติการประจําปีของหน่วยงาน พร้อมทั้งจะต้องมีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน
3 มีการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการประจําปีของหน่วยงานไปสู่บุคลากร ในสังกัดและเผยแพร่ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับทราบหรือนําไปใช้ประโยชน์ต่อการทํางานต่างๆ ของหน่วยงานได้
4 มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เพื่อวัดความสําเร็จของ การดําเนินงาน แผนปฏิบัติการประจําปีของหน่วยงานอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยรายงานผลต่อคณะกรรมการประจําหน่วยงาน เพื่อรับทราบและพิจารณาข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะแนว เพื่อการพัฒนาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
5 มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายเพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานแผน ยุทธศาสตร์ ของหน่วยงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และมีการรายงานผลความสําเร็จแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน ต่อคณะกรรมการประจําหน่วยงานเพื่อรับทราบหรือพิจารณาข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
6 มีการนําผลการพิจารณา ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประจําหน่วยงานไปปรับปรุง หรือพัฒนาแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการประจําปี
ผลการดำเนินงาน
ตนข้อเกณฑ์ผลการดำเนินงานหลักฐาน
1มีการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ ของหน่วยงานจากผลการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน อุปสรรค โอกาสกับวิสัยทัศน์ที่มาจากการมีส่วนร่วมของบุคลากรหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยเชื่อมโยงวิสัยทัศน์ พันธกิจของหน่วยงาน ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งกําหนดกลยุทธ์ มาตรการหรือแนวทางการดําเนินงาน ตัวชี้วัดความสําเร็จและค่าเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์ ในแต่ละปี ทั้งนี้แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานจะต้องผ่าน การอนุมัติเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําหน่วยงาน

สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ได้พัฒนาแผนยุทธศาสตร์ มีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน อุปสรรค โอกาสกับวิสัยทัศน์ที่มาจากการมีส่วนร่วมของบุคลากรหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยเชื่อมโยงวิสัยทัศน์ พันธกิจของหน่วยงาน ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งกําหนดกลยุทธ์ มาตรการหรือแนวทางการดําเนินงาน ตัวชี้วัดความสําเร็จและค่าเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์  ดังนี้

 

1.มีการแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบดำเนินการจัดทำแผนกลยุทธ์สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ(พ.ศ 2562 - 2565) ฉบับทบทวน พ.ศ. 2565 (1.1-1(1))  โดยมีผู้อำนวยการสำนัก และหัวหน้างาน เป็นคณะกรรมการอำนวยการ และเจ้าหน้าที่บุคลากร ในสำนักที่เกี่ยวข้อง เป็นคณะกรรมการดำเนินงาน มีหน้าที่ กำกับ วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน อุปสรรค โอกาสกับวิสัยทัศน์ที่มาจากการมีส่วนร่วมของบุคลากรหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยเชื่อมโยงวิสัยทัศน์ พันธกิจของหน่วยงาน ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย และสอดคล้องกับเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาระดับสำนัก

 

2.มีการจัดทำแผนกลยุทธ์สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ(พ.ศ 2562 - 2565) ฉบับทบทวน พ.ศ. 2565 1.1-1(2))  เพื่อเป็นแผนหลักในการกำหนดทิศทางและเป้าหมายในการพัฒนาสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ให้สอดคล้องกับปณิธานและพันธกิจของสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ซึ่งการจัดทำแผนกลยุทธ์ในครั้งนี้ได้ระดมความคิดจากทุกหน่วยงานภายใน และได้ทำการวิเคราะห์จากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในสังคม และสอดคล้องกับกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งกําหนดกลยุทธ์ มาตรการหรือแนวทางการดําเนินงาน ตัวชี้วัดความสําเร็จและค่าเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์

     โดยได้ผ่านความเห็นชอบจากมติที่ประชุมคณะกรรมบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ (ก.บ.) ในคราวประชุมครั้งที่ 4/2564 เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2565 วาระที่ 5.1 ร่าง แผนกลยุทธ์สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2564 1.1-1(3)) และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจำสำนัก ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 23 กรกฏาคม 2564 วาระที่ 5.1 ขอความเห็นชอบ ร่างแผนกลยุทธ์สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2565

 

2 มีการแปลงแผนยุทธศาสตร์ เป็นแผนปฏิบัติการประจําปีครบตามพันธกิจของหน่วยงาน โดยกําหนด กลยุทธ์ มาตรการหรือแนวทางการดําเนินงาน โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายความสําเร็จของแต่ละตัวชี้วัด ในแผนปฏิบัติการประจําปีของหน่วยงาน พร้อมทั้งจะต้องมีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน

 

สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มีการดำเนินงานจัดทำ โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ความสำเร็จของแต่ละตัวชี้วัด ดังนี้

1.มีการจัดประชุมคณะกรรมการสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ  โดยมีผู้อำนวยการสำนัก และหัวหน้างาน เป็นคณะกรรมการอำนวยการ และเจ้าหน้าที่บุคลากร ในสำนักที่เกี่ยวข้อง เป็นคณะกรรมการดำเนินงาน โดยได้ผ่านความเห็นชอบจากมติที่ประชุมคณะกรรมบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ (ก.บ.) ในคราวประชุม ครั้งที่ 4/2564 เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2564 วาระที่ 5.7 รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2564  1.1-2(1)) เพื่อแปลงแผนยุทธศาสตร์ เป็นแผนปฏิบัติการประจําปีครบตามพันธกิจของหน่วยงาน โดยกําหนด กลยุทธ์ มาตรการหรือแนวทางการดําเนินงาน โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายความสําเร็จของแต่ละตัวชี้วัด ในแผนปฏิบัติการประจําปีของหน่วยงาน พร้อมทั้งจะต้องมีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน

2.มีการแปลงแผนยุทธศาสตร์เป็นแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 (2.1-2(1)) โดยได้รับการจัดสรรงบประมาณตามแผน จำนวนทั้งสิ้น 1,335,100 บาท แบ่งเป็นงบประมาณแผ่นดิน จำนวน 289,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 21.65 และงบประมาณบำรุงการศึกษา จำนวน 1,046,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 78.35  โดยมีการจัดสรรครบตามพันธกิจของหน่วยงาน

ยุทธศาสตร์

งบประมาณ

จำนวน

โครงการ/กิจกรรม

แผ่นดิน

บกศ.

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การผลิตและพัฒนาบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีคุณธรรม สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและประเทศ

 

    434,000 

ยุทธศาสตร์ที่  2 การวิจัย การสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อพัฒนาสังคม

 

42,000

1

ยุทธศาสตร์ที่  4 การบริการวิชาการและน้อมนำแนวพระราชดำริที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาของสังคมท้องถิ่น

 

200,000

 

 1

ยุทธศาสตร์ที่ 6. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยโดยยึดหลักธรรมาภิบาล

289,000

370,100

4

 3.มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ โดยกําหนด กลยุทธ์ มาตรการหรือแนวทางการดําเนินงาน โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายความสําเร็จของแต่ละตัวชี้วัด ในแผนปฏิบัติการประจําปีของหน่วยงาน พร้อมทั้งจะต้องมีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน .1.1-2(2)) 

3 มีการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการประจําปีของหน่วยงานไปสู่บุคลากร ในสังกัดและเผยแพร่ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับทราบหรือนําไปใช้ประโยชน์ต่อการทํางานต่างๆ ของหน่วยงานได้

สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ การถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงานไปสู่บุคลากรในสังกัดทราบ จำนวน 2 ช่องทาง ดังนี้

  3.1 ถ่ายทอดผ่านการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักในคราวประชุมครั้งที่ ครั้งที่ 6 / 2564

เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2564 วาระที่  4.2 แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 256๕

(2.1-3(1))

  3.2 เผยแพร่ให้บุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรับทราบ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ผ่านทางเว็บไซต์หน่วยงานสำนักส่งเสริมบริการและวิชาการ http://www.oass.sskru.ac.th/OASS.html (2.1-3(2))

4 มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เพื่อวัดความสําเร็จของ การดําเนินงาน แผนปฏิบัติการประจําปีของหน่วยงานอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยรายงานผลต่อคณะกรรมการประจําหน่วยงาน เพื่อรับทราบและพิจารณาข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะแนว เพื่อการพัฒนาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ  มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด ค่าเ เป้าหมาย เพื่อวัดความสำเร็จของการดําเนินงาน แผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ดังนี้                       

          4.1  มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ 2565 รอบไตรมาสที่ 2  ในการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 2 / 2565 วันที่ 3 มีนาคม 2565.(2.1-4(1))  และมีการติดตามรอบไตรมาสที่ 3 ในการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักฯในคราวประชุมครั้งที่ 5/2565 วันที่ 8 มิถุนายน 2565 .(2.1-4(2))

         4.2 มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (2.1-4(3)) ในการประชุมคณะกรรมการประจำสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 1/2565 .(2.1-4(3)) ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2565 

          ผลการติดตามพบว่า มีการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายไว้ตามแผน จำนวน 14 ตัวชี้วัด บรรลุเป้าหมาย 11 ตัวชี้วัด ไม่บรรลุเป้าหมาย จำนวน 3 ตัวชี้วัด โดยมีข้อเสนอแนะ ดังนี้

  1. การรดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีไตรมาสที่ 2 ยังไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ให้ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ 
  2. การดำเนินงานไตรมาสที่ 2 และไตรมาสที่ 3 ไม่เป็นไปตามแผนการเบิกจ่ายงบประมาณ อาจเนื่องจากสถานการณ์โควิด โดยให้ปรับแนวทางในการดำเนินกิจกรรมของโครงการ เช่น โครงการแนะแนวฯ โครงการรับสมัครนักศึกษา เปลี่ยนรูปแบบเป็นออนไลน์ 
5 มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายเพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานแผน ยุทธศาสตร์ ของหน่วยงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และมีการรายงานผลความสําเร็จแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน ต่อคณะกรรมการประจําหน่วยงานเพื่อรับทราบหรือพิจารณาข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ  มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เพื่อวัดความสำเร็จของการดําเนินงานแผน ยุทธศาสตร์ ของหน่วยงาน ดังนี้

    5.1 มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของแผนยุทธศาสตร์ ในการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ  ครั้งที่  5/2565  ลงวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ 2565 

    5.2 มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของแผนยุทธศาสตร์(2.1-5(1)) ในการประชุมคณะกรรมการประจำสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ  ครั้งที่ 1./2565 (2.1-5(3)) ลงวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2565 ผลการติดตามพบว่า มีการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายไว้ตามแผน จำนวน 11 ตัวชี้วัด บรรลุเป้าหมาย จำนวน 8 ตัวชี้วัด ไม่บรรลุเป้าหมาย จำนวน 3 ตัวชี้วัด

ผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เพื่อวัดความสำเร็จของการดําเนินงาน

แผนกลยุทธ์สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ระยะเวลา 4 ปี (พ.ศ.2562 – 2565) ทบทวน พ.ศ. 2565

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับคุณภาพการให้บริการและสนับสนุนการจัดเรียนการสอน

เป้าประสงค์

ยุทธศาสตร์

ตัวชี้วัด

หน่วยนับ

ค่าเป้าหมาย

ผู้รับผิดชอบ

บรรลุ

ไม่บรรลุ

2564

2565

ระบบและกลไกการให้บริการและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ

    1.พัฒนากระบวนการจัดการแนวทางการศึกษาต่อและการรับสมัครนักศึกษาให้มีประสิทธิภาพ

1. ร้อยละนักศึกษาเข้าใหม่ต่อแผนการรับนักศึกษา

ร้อยละ

80

80

งานทะเบียนและประมวลผล /
งานบริการวิชาการ

 

/

2. ช่องทางการประชาสัมพันธ์และแนะแนวการศึกษา

ช่องทาง

5

5

/

 

3. จำนวนเครือข่ายความร่วมมือทางการศึกษา

เครือข่าย

2

3

/

 

4. มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศการรับสมัครนักศึกษาใหม่ที่มีประสิทธิภาพ

ระบบ

1

1

/

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์หน่วยงาน 2 . การส่งเสริมการบริการวิชาการและน้อมนำแนวพระราชดำริ ที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาของสังคมท้องถิ่น

เป้าประสงค์

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

หน่วยนับ

ค่าเป้าหมาย

ผู้รับผิดชอบ

บรรลุ

ไม่บรรลุ

2564

2565

   เป็นหน่วยบริการวิชาการและรวบรวมองค์ความรู้หรือนวัตกรรมการบริการวิชาการระดับท้องถิ่นให้กับหน่วยงานภายในและภายนอกให้เกิดการพัฒนาศักยภาพและพัฒนาระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการข้อมูลด้านบริการวิชาการอย่างมีประสิทธิภาพ    

    1.สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริการวิชาการร่วมกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก

 

    2.บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อพัฒนา องค์ความรู้หรือนวัตกรรมในการนำไปบริการวิชาการเพื่อพัฒนาสังคมตามบริบทและความต้องการของท้องถิ่น

 

   3.พัฒนาระบบการบริหารจัดการงานบริการวิชาการที่ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนและน้อมนำแนวพระราชดำริเพื่อพัฒนาท้องถิ่น

1.จำนวนเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริการวิชาการร่วมกับหน่วยงานภายในและภายนอก

เครือข่าย

2

3

งานบริการวิชาการ

/

 

2.จำนวนพื้นที่บริการวิชาการที่ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้หรือนวัตกรรมทั้งพื้นที่บริการวิชาการเดิมและพื้นที่บริการวิชาการใหม่

พื้นที่

1

2

 

/

3.จำนวนโครงการที่มีการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์งานบริการวิชาการเพื่อพัฒนาสังคมตามบริบทและความต้องการของท้องถิ่น

โครงการ

1

2

/

 

4.มีการพัฒนาระบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการจัดเก็บข้อมูลการบริการวิชาการแก่สังคม

ระบบ

1

1

/

 

 

ยุทธศาสตร์หน่วยงานที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ

เป้าประสงค์

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

หน่วยนับ

ค่าเป้าหมาย

บรรลุ

ไม่บรรลุ

2564

2565

มีระบบกลไกการบริหารจัดการสำนักส่งเสริมบริการและวิชาการที่มีประสิทธิภาพ           

 

    1.ส่งเสริมการผลิตผลงานคู่มือปฏิบัติงานหลักและงานวิจัย งานวิเคราะห์สังเคราะห์สายสนับสนุน

  

 

1.ระดับความสำเร็จแผนยุทธศาสตร์ของสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ และการจัดสรรแผนปฏิบัติการประจำปีให้สอดคล้องกับพันธกิจสำนัก

ระดับ

สำเร็จ

สำเร็จ

/

 

 2.พัฒนาระบบการทำงานในรูปแบบโดยบูรณาการโดยวิธีการจัดการความรู้

   

 

 

2.ระดับความสำเร็จของแผนยุทธศาสตร์ทางการเงิน และการตั้งระดับความสำเร็จในการใช้จ่ายงบประมาณแผ่นดินตามแผนการบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล

ระดับ

สำเร็จ

สำเร็จ

/

 

 

3.พัฒนาระบบบริหารจัดการความเสี่ยง

   

 

3.ระดับความสำเร็จของแผนการบริหารความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ และระบุความเสี่ยง

ระดับ

สำเร็จ

สำเร็จ

/

 

 

4.พัฒนาระบบการบริหารกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปีให้เกิดการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ

4.ระดับความสำเร็จแผนการบริหาร และการพัฒนาบุคลากรในสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ

ระดับ

สำเร็จ

สำเร็จ

/

 

5.พัฒนาระบบการประกันคุณภาพให้มีคุณภาพที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

 

5.ระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้

ระดับ

สำเร็จ

สำเร็จ

/

 

    6.พัฒนาระบบการบริหารงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล

 

6.ระดับความสำเร็จการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามระบบ และกลไก

ระดับ

สำเร็จ

สำเร็จ

/

 

 

    7.ปรับปรุงการนำเทคโนโลยีมาใช้ในกระบวนการทำงาน

7.มีระบบเทคโนโลยีเพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน หรือระบบงานในองค์กร

ระบบ

1

1

/

 

                 

 

 โดยมีข้อเสนอแนะ ดังนี้

ผลการด ำเนินงานบางตัวชี้วัดยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด

      1)  ควรจัดอบรมบุคลากรในหน่วยงานให้ความรู้ความเขา้ใจในการปฏิบตัิงานในหนา้ท ี่ให้ชดัเจน และ ใหทุกฝ่ายปฏิบตัิใหสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ท ี่ไดกำหนดไว ้ต้องมีการประสานงานและกำกับดูแล เพื่อให้การปฏิบตัิงานเป็นไปตามขั้นตอนที่กำหนดและจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอ เฉลี่ยสัดส่วนในแต่ละโครงการตามความจำเป็นเพื่อให้การปฏิบัติงานมี ประสิทธิภาพ บรรลุผลตามที่ได้วางไว้

     2) ควรมีการติดตาม ในส่วนของการดำเนินงาน ให้สอดคลอ้งกบัแผนกลยุทธ์และสามารถประเมินการปฏิบตัิได้จริง ต้องมีการติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

6 มีการนําผลการพิจารณา ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประจําหน่วยงานไปปรับปรุง หรือพัฒนาแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการประจําปี

 สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ  มีการนําผลการพิจารณาข้อคิด เห็น และข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประจำหน่วยงานไปปรับปรุง

    มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของแผนยุทธศาสตร์(2.1-6(1)) และรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (2.1-6(2)) เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการประจำสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 1/2565 เมื่อคราวประชุม ลงวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2565 (2.1-6(3)) พบว่า มีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนา จำนวน 3 ประเด็นหน่วยงานจึงได้จัดทำแผนการปรับปรุงคุณภาพของแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 .(2.1-6(4)) กำหนดแนวทางการปรับปรุงพัฒนาตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินงาน และผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน โดยมีรายละเอยด ดังนี้

ข้อเสนอแนะ

แนวทางการปรับปรุง

ระยะเวลาดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

  1. ผลการด ำเนินงานบางตัวชี้วัดยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด

ควรมีการปรับปรุงตัวชี้ วัด ค่าเป้าหมายแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์และมีการทบทวนพัฒนาแผนกลยุทธ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ อย่างต่อเนื่อง  

ปีงบประมาณ 2565-2566 

คณะกรรมการผู้รับผิดชอบจัดทำแผนสำนัก 

  1. ควรจัดอบรมบุคลากรในหน่วยงานให้ความรู้ความเขา้ใจในการปฏิบตัิงานในหนา้ท ี่ให้ชดัเจน และ ใหทุกฝ่ายปฏิบตัิใหสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ท ี่ไดกำหนดไว ้ต้องมีการประสานงานและกำกับดูแล เพื่อให้การปฏิบตัิงานเป็นไปตามขั้นตอนที่กำหนดและจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอ เฉลี่ยสัดส่วนในแต่ละโครงการตามความจำเป็นเพื่อให้การปฏิบัติงานมี ประสิทธิภาพ บรรลุผลตามที่ได้วางไว้

จัดอบรมให้ความรู้บุคคลากรในการเขียนแผนฯ การกำหนดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ให้สอดคลองกับแผนปฏิบัตืิการขอ

งโครงการและการกำหนดยุทธสาสตร์ 

ปีงบประมาณ 2565-2566 

คณะกรรมการผู้รับผิดชอบจัดทำแผนสำนัก 

  1. ควรมีการติดตาม ในส่วนของการดำเนินงาน ให้สอดคลอ้งกบัแผนกลยุทธ์และสามารถประเมินการปฏิบตัิได้จริง ต้องมีการติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 

 

ติดตามผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติาร ผ่านการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักทุกเดือน  

 

คณะกรรมการบริหารสำนัก 

ผลคะแนนการประเมินตนเอง
ทำได้ (ข้อ) ได้คะแนน
6 5