ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 การบริหารความเสี่ยง

ปีที่ประเมิน 2564
ผู้ดูแลตัวบ่งชี้ : ณัชชารีย์ กุลพิชัยจิราวุฒิ , ชยานันท์ แก้วเกิด
ชนิดตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
คำอธิบายตัวบ่งชี้

หน่วยงานสนับสนุนจะต้องดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ที่เป็นผลจากการวิเคราะห์และระบุ ปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายนอก หรือปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ที่ส่งผลต่อการดําเนินงานตามพันธกิจของ หน่วยงานและให้ระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิมหรืออยู่ในระดับที่ยอมรับสามารถควบคุมได้ เพื่อป้องกันหรือบรรเทา ความรุนแรงของปัญหา รวมทั้งการมีแผนสํารองต่อภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้มั่นใจว่าระบบงานต่างๆ มีความพร้อมใช้งาน มีการปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่องและทันต่อการเปลี่ยนแปลงเพื่อการบรรลุเป้าหมายของสถาบัน/หน่วยงาน ตามยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์เป็นสําคัญ

เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
เกณฑ์มาตรฐาน
ระดับ เกณฑ์มาตรฐาน ดำเนินการ
1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทํางานด้านบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน โดยมีผู้บริหารสูงสุด หรือตัวแทนผู้บริหารของหน่วยงานเป็นประธานในคําสั่ง และมีบุคลากรร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทํางาน โดยมีการกําหนดบทบาทหน้าที่ และระบบกลไกหรือกระบวนการทํางานของคณะกรรมการอย่างชัดเจน
2 มีจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง จากภายในและภายนอกหน่วยงาน ที่ครอบคลุมตามพันธกิจหรือความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ทับซ้อน ของหน่วยงานอย่างน้อย 3 ด้าน ตามบริบทของหน่วยงาน
3 มีการประเมินโอกาส ผลกระทบของความเสี่ยง และจัดลําดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2 โดยระบุไว้ในแผนบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน และแผนบริหารความเสี่ยงจะต้องผ่านการอนุมัติเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําหน่วยงาน
4 มีแผนการดําเนินงานหรือโครงการ/กิจกรรมในการบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูงหรือความเสี่ยง ที่หน่วยต้องเร่งดําเนินการด่วน และบอกได้ถึงวิธีการจัดการความเสี่ยงที่ทําให้ความเสี่ยงในประเด็นต่างๆ มีระดับความเสี่ยงลดลงอย่างน้อย 1 เรื่อง
5 มีการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานผลตามระยะเวลา ที่กําหนดในรอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน เสนอต่อคณะผู้บริหารได้รับทราบและพิจารณาข้อคิดเห็น หรือ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาร่วมกัน
6 มีการนําผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากหน่วยงานตนเองและหน่วยตรวจสอบภายในไปใช้ในการ ปรับแผนหรือวิเคราะห์ความเสี่ยงในรอบปีถัดไป และให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของการดําเนินงาน ตามปกติอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงาน
ตนข้อเกณฑ์ผลการดำเนินงานหลักฐาน
1มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทํางานด้านบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน โดยมีผู้บริหารสูงสุด หรือตัวแทนผู้บริหารของหน่วยงานเป็นประธานในคําสั่ง และมีบุคลากรร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทํางาน โดยมีการกําหนดบทบาทหน้าที่ และระบบกลไกหรือกระบวนการทํางานของคณะกรรมการอย่างชัดเจน

1. สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ มีการวางแผนเตรียมการด้านการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ดังนี้

1.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ตาม คำสั่งสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ที่ 047/2564 ลงวันที่ 22 ตุลาคม 2564 (1.4 - 1(1) โดยมีส่วนร่วมของบุคลกร ตั้งแต่ รองอธิการบดี เป็นคณะกรรมการที่ปรึกษา ผู้อำนวยการสำนักฯ รองผู้อำนวยการสำนัก และหัวหน้าสำนักงานสำนักส่งเสริมฯ เป็นคณะกรรมการอำนวยการ และตัวแทนจากทุกกลุ่มงานเป็นคณะกรรมการดำเนินงาน ทำหน้าที่ให้คำปรึกษา อำนวยการ พิจารณา สั่งการ กำกับ ติดตาม ให้ความเป็น ข้อเสนอแนะ และจัดเก็บข้อมูล ปฏิบัติงานให้สอดคล้อง เป็นไปตามตัวบ่งชี้และเกณฑ์มาตรฐานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2564 ทำหน้าที่ในการจัดวางนโยบาย ระบุความเสี่ยง ประเมินความเสี่ยง จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2565

 

1.2 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการควบคุมภายใน สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ปีการศึกษา 2564  ที่ 050/2564 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2564 เรื่อง  (1.4-1(2)) โดยมีผู้บริหาร คือ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ รองผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ หัวหน้าสำนักงานสำนักส่งเสริมฯ หัวหน้างานบริหารทั่วไป และเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ทำหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานตามแผนการตรวจสอบที่สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษกำหนดด้านการเงิน บัญชี พัสดุ รวมทั้งการตรวจสอบการบริหารงานด้านอื่น ๆ ให้เป็นไปตามนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง และมติคณะรัฐมนตรี ตลอดจนการตรวจสอบการดูแลรักษาทรัพย์สิน และการใช้ทรัพยากรทุกประเภทว่าเป็นไปโดยมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ประเมินผลการปฏิบัติงาน และเสนอแนะวิธีการหรือมาตรการในการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้การปฏิบัติงานตามข้อ 1 เป็นไปโดยมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะเพื่อป้องปรามมิให้เกิดความเสียหายหรือการทุจริตรั่วไหลเกี่ยวกับการเงินหรือทรัพย์สินต่าง ๆ ของทางราชการ รายงานผลการตรวจสอบเสนอต่ออธิการบดีตามระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ติดตามผลการตรวจสอบ เสนอแนะ และให้คำปรึกษาแก่ผู้บริหารของสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เพื่อให้มีการปรับปรุงแก้ไขถูกต้องตามข้อเสนอแนะ และดำเนินการตรวจสอบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

 

1.3 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยง สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ที่ 051/2564 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2565 (1.4-1(3)) โดยมีผู้บริหาร คือ รองผู้อำนวยการสำนักฯ หัวหน้าสำนักงานอำนวยการ และหัวหน้างานบริหารงานทั่วไป เพื่อทำหน้าที่ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานแผนบริหารความเสี่ยง รวมทั้งกำหนดแนวทาง ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแผนการบริหารความเสี่ยง และพิจารณาจัดการทำรายงานสรุปผลการประเมินการบริหารความเสี่ยงต่อคณะกรรมการบริหารสำนักอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง

 

1.4 มีการเสนอร่างคำสั่ง ในคราวการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 7/2564 วันที่ 11 ตุลาคม 2564 (1.4-1(4)) เพื่อพิจารณา 1) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับตัวบ่งชี้และจัดเก็บข้อมูลด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามตัวบ่งชี้ด้านการบริหารความเสี่ยง สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ปีการศึกษา 2564 2) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการควบคุมภายใน สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ปีการศึกษา 2564 และ 3) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยง ระดับสำนัก ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยผ่านความเห็นชอบ และมีมติให้บุคลากรปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย และรายงานผลการดำเนินงานตามคำสั่ง

2มีจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง จากภายในและภายนอกหน่วยงาน ที่ครอบคลุมตามพันธกิจหรือความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ทับซ้อน ของหน่วยงานอย่างน้อย 3 ด้าน ตามบริบทของหน่วยงาน

2. สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ มีการดำเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยงตามขั้นตอนดังนี้

2.1 มีการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 6/2564 วันที่ 29 กันยายน 2564 (1.4-2(1)) เพื่อหารือ ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง วิเคราะห์ความเสี่ยง โอกาสและผลกระทบ ภายใน ภายนอก โดยการทบทวนผลการดำเนินงานตามแผนการบริหารความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2564 และมีมติมอบให้กรรมการเสนอความเสี่ยงแบ่งตามส่วนงาน และนำส่งฝ่ายเลขาเพื่อรวบรวมความเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยงของสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

 

2.2 มีการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 7/2564 วันที่ 11 ตุลาคม 2564 (1.4-2(2)) เพื่อหารือความเสี่ยง ปัจจัยเสียงที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงจากภายในและภายนอกโดยคลอบคลุมตามพันธกิจของสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ จำนวน 40 เรื่อง ดังนี้ 1) งานบริหารทั่วไป จำนวน 6 ความเสี่ยง 2) งานส่งเสริมวิชาการ จำนวน 15 ความเสี่ยง 3) งานทะเบียนและประมวลผล จำนวน 6 ความเสี่ยง 4) งานบริการวิชาการ จำนวน 10 ความเสี่ยง 5) บัณฑิตศึกษา จำนวน 3 ความเสี่ยง

 

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การยกระดับคุณภาพการให้บริการและสนับสนุนการจัดเรียนการสอน

กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน และการประกันคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

ความเสี่ยงภายใน 1) นักศึกษาที่สอบผ่านการคัดเลือกหรือรายงานตัวแล้ว สละสิทธิ์ ลาออกเพื่อศึกษาต่อที่อื่น 2) นักศึกษาไม่สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนด 3) นักศึกษามีตัวเลือกสถานศึกษาหลายแห่ง

 

ความเสี่ยงภายนอก 1) อัตราการเกิดของประชากรมีแนวโน้มลดลง ประกอบกับค่านิยมของผู้เรียนยังคงเลือกเรียนมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง 2) ผู้ใช้บัณฑิตมีความต้องการบัณฑิตที่มีทักษะและความรู้ความสามารถ ทำงานได้ทันทีเมื่อบรรจุเข้าเป็นพนักงน

 

กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการกำลังพล และการเปลี่ยนแปลทางสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม

 

ความเสี่ยงภายใน 1) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรยังไม่เข้าใจการบริหารหลักสูตรที่ถูกต้อง 2) บุคลากรส่วนมากยังไม่รู้วิธีดำเนินการ 3) การประสานงานล่าช้า 4) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องไม่ปฏิบัติตามระเบียบ 5) บุคลากรยังขาดความเข้าใจเรื่องการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต 6) งบประมาณในการบริหารจัดการไม่เพียงพอต่อการพัฒนา

 

ความเสี่ยงภายนอก 1) ขาดความเชื่อมั่นของหลักสูตร 2) หลักสูตรที่ตอบสนองความต้องการยังไม่หลากหลาย

 

ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การบริการวิชาการและน้อมนำแนวพระราชดำริ ที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาของสังคมท้องถิ่น

 

กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมและน้อมนำแนวพระราชดำริเพื่อพัฒนาท้องถิ่น

ความเสี่ยงภายใน 1) ผู้จัดโครงการไม่เข้าใจบริบทพื้นที่ที่จัดโครงการบริการทางวิชาการ 2) โครงการบริการวิชาการที่สร้างรายได้ยังขาดความคุ้มทุน 3) การจัดทำเอกสารเบิกจ่ายบางเรื่องไม่ถูกต้องและไม่เป็นไปตามกฎระเบียบ

 

 

ความเสี่ยงภายนอก 1) ช่วงเวลาที่เหมาะสมของชุมชนและหัวหน้าโครงการไม่สอดคล้องกัน เช่น ช่วงปิดเทอม ช่วงฤดูเพาะปลูก หรือช่วงเก็บเกี่ยวของชุมชน 2) เกิดภัยทางธรรมชาติที่ไม่สามารถกำหนดและรู้ล่วงหน้าได้ อาจต้องเลื่อนหรืองดจัดโครงการ

 

กลยุทธ์ที่ 2 บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่นที่เป็นไปตามบริบทและความต้องการในการพัฒนาท้องถิ่น

 

ความเสี่ยงภายใน 1) ความร่วมมือแบบบูรณาการในการให้บริการวิชาการยังมีน้อย 2) ผู้รับผิดชอบตัวบ่งชี้บางตัวไม่สามารถส่งข้อมูลได้ครบตามระยะเวลาที่กำหนด 3) เทคนิคการถ่ายทอดองค์ความรู้เข้าไม่ถึงชุมชนทำให้เกิดการไม่รับรู้

 

กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาหลักสูตรบริการวิชาการและวิชาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น

 

ความเสี่ยงภายใน 1) การถ่ายทอดเทคโนโลยีเฉพาะด้านยังไม่โดดเด่น 2) ขาดความไม่ต่อเนื่องหรือการต่อยอดของโครงการ เนื่องจากมีพื้นที่ในการจัดทำโครงการมากขึ้น

 

ความเสี่ยงภายนอก 1) ความสนใจของคนในชุมชนที่ต้องการพัฒนามีน้อย ทำให้กลุ่มเป้าหมายของผู้เข้าร่วมโครงการไม่เป็นไปตามแผน

 

กลยุทธ์ที่ 4 สร้างเครือข่ายความร่วมมือการบริการวิชาการและวิชาชีพให้เข้มแข็ง

 

ความเสี่ยงภายใน 1) ระเบียบ ข้อบังคับ ไม่เอื้ออำนวยต่อการบริหารจัดการ 2) ระบบสนับสนุนงานบริการวิชาการไม่ชัดเจน

 

ความเสี่ยงภายนอก 1) ชุมชน หน่วยงานภาคี เข้าไม่ถึงข้อมูลของมหาวิทยาลัยและไม่ทราบช่องทางติดต่อประสานงานที่เป็นระบบ

 

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาองค์การอย่างยั่งยืน

 

กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาระบบงานด้วยหลักธรรมาภิบาลและเสริมสร้างระบบบริหารงานตามโครงสร้างมหาวิทยาลัย

 

ความเสี่ยงภายใน 1) ขาดการกำกับติดตามการถ่ายทอดการนำแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการลงสู่การปฏิบัติ 2) ขาดความเข้าใจในการนำหลักธรรมาภิบาลนำไปสู่การปฏิบัติงานที่ชัดเจน

 

กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการให้เป็น Green Office

 

ความเสี่ยงภายใน 1) พื้นที่แต่ละหน่วยงานห่างไกลกัน 2) ระบบเครือข่ายยังไม่ครอบคลุมพื้นที่การให้บริการ 3) ช่องทางการประชาสัมพันธ์ขาดการดึงดูดความสนใจจากบุคคลภายนอก 4) ระบบในการจำแนกบุคคลภายนอกที่เข้าดูเว็บไซต์ของหน่วยงานยังไม่สมบูรณ์ 5) software /ฐานข้อมูล ขาดการเชื่อมโยงในระบบการบริหารจัดการ 6) พื้นที่ใช้งาน อาคาร ห้องน้ำ ห้องเรียน และครุภัณฑ์การเรียนการสอน ชำรุดเสียหายไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ 7) ขยะภายในอาคารมีจำนวนมากและการจัดการขยะยังไม่เป็นระบบเท่าที่ควร

 

กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรอย่างต่อเนื่องและส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรให้บุคลากรมีส่วนร่วม

 

ความเสี่ยงภายใน 1) ศักยภาพของบุคลากรไม่สอดคล้องกับภาระงานที่รับผิดชอบ 2) บุคลากรมีการปรับเปลี่ยนภาระหน้าที่ที่ปฏิบัติบ่อยครั้ง 3) กระบวนการ และระยะเวลาในการขอตำแหน่งที่สูงขึ้น ยังขาดความชัดเจน 4) การพัฒนาทักษะของบุคลากรยังไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีใหม่

 

โดยคณะกรรมการได้ร่วมกันระบุระดับคะแนนโอกาสและผลกระทบที่อาจก่อให้เกิดความเสียหาย 3 ด้าน ได้แก่ 1) มีผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์กร 2) โอกาสที่จะได้รับความเสียหายด้านงบประมาณที่ได้รับในปีปัจจุบัน และ 3) ผลกระทบต่อผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดังนี้

ระบุความเสี่ยง

ผลกระทบฯ (a)

ความเสียหายฯ (b)

ผลกระทบฯ (c)

คะแนน (a+b+c)

ภายใน

1. นักศึกษาที่สอบผ่านการคัดเลือกหรือรายงานตัวแล้ว สละสิทธิ์ ลาออกเพื่อศึกษาต่อที่อื่น

2. นักศึกษาไม่สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนด

3. นักศึกษามีตัวเลือกสถานศึกษาหลายแห่ง

ภายนอก

1. อัตราการเกิดของประชากรมีแนวโน้มลดลง ประกอบกับค่านิยมของผู้เรียนยังคงเลือกเรียนมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง

2. ผู้ใช้บัณฑิตมีความต้องการบัณฑิตที่มีทักษะและความรู้ความสามารถ ทำงานได้ทันทีเมื่อบรรจุเข้าเป็นพนักงน

 

1

 

1

1

 

 

2

 

1

 

1

 

1

1

 

 

2

 

1

 

1

 

1

1

 

 

2

 

1

 

3

 

3

3

 

 

6

 

3

ภายใน

1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรยังไม่เข้าใจการบริหารหลักสูตรที่ถูกต้อง

2. บุคลากรส่วนมากยังไม่รู้วิธีดำเนินการ

3. การประสานงานล่าช้า

4. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องไม่ปฏิบัติตามระเบียบ

5. บุคลากรยังขาดความเข้าใจเรื่องการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

6. งบประมาณในการบริหารจัดการไม่เพียงพอต่อการพัฒนา

ภายนอก

1. ขาดความเชื่อมั่นของหลักสูตร

2. หลักสูตรที่ตอบสนองความต้องการยังไม่หลากหลาย

 

1

1

1

1

2

1

 

1

1

 

1

1

1

1

1

1

 

1

1

 

1

1

1

1

2

1

 

1

1

 

3

3

3

3

5

3

 

3

3

ภายใน

1. ผู้จัดโครงการไม่เข้าใจบริบทพื้นที่ที่จัดโครงการบริการทางวิชาการ

2. โครงการบริการวิชาการที่สร้างรายได้ยังขาดความคุ้มทุน

3. การจัดทำเอกสารเบิกจ่ายบางเรื่องไม่ถูกต้องและไม่เป็นไปตามกฎระเบียบ

ภายนอก

1. ช่วงเวลาที่เหมาะสมของชุมชนและหัวหน้าโครงการไม่สอดคล้องกัน เช่น ช่วงปิดเทอม ช่วงฤดูเพาะปลูก หรือช่วงเก็บเกี่ยวของชุมชน

2. เกิดภัยทางธรรมชาติที่ไม่สามารถกำหนดและรู้ล่วงหน้าได้ อาจต้องเลื่อนหรืองดจัดโครงการ

 

1

1

1

 

1

 

1

 

1

1

1

 

1

 

1

 

1

1

1

 

1

 

1

 

3

3

3

 

3

 

3

ภายใน

1. ความร่วมมือแบบบูรณาการในการให้บริการวิชาการยังมีน้อย

2. ผู้รับผิดชอบตัวบ่งชี้บางตัวไม่สามารถส่งข้อมูลได้ครบตามระยะเวลาที่กำหนด

3. เทคนิคการถ่ายทอดองค์ความรู้เข้าไม่ถึงชุมชนทำให้เกิดการไม่รับรู้

 

1

1

1

 

1

1

1

 

1

1

1

 

3

3

3

ภายใน

1. การถ่ายทอดเทคโนโลยีเฉพาะด้านยังไม่โดดเด่น

2. ขาดความไม่ต่อเนื่องหรือการต่อยอดของโครงการ เนื่องจากมีพื้นที่ในการจัดทำโครงการมากขึ้น

ภายนอก

1. ความสนใจของคนในชุมชนที่ต้องการพัฒนามีน้อย ทำให้กลุ่มเป้าหมายของผู้เข้าร่วมโครงการไม่เป็นไปตามแผน

 

1

 

1

 

 

1

 

1

 

1

 

 

1

 

1

 

1

 

 

1

 

3

 

3

 

 

3

ภายใน

1. ระเบียบ ข้อบังคับ ไม่เอื้ออำนวยต่อการบริหารจัดการ

2. ระบบสนับสนุนงานบริการวิชาการไม่ชัดเจน

ภายนอก

1. ชุมชน หน่วยงานภาคี เข้าไม่ถึงข้อมูลของมหาวิทยาลัยและไม่ทราบช่องทางติดต่อประสานงานที่เป็นระบบ

 

1

1

 

1

 

1

1

 

1

 

1

1

 

1

 

3

3

 

3

ภายใน

1. ขาดการกำกับติดตามการถ่ายทอดการนำแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการลงสู่การปฏิบัติ

2. ขาดความเข้าใจในการนำหลักธรรมาภิบาลนำไปสู่การปฏิบัติงานที่ชัดเจน

 

1

 

1

 

1

 

1

 

1

 

1

 

3

 

3

ภายใน

1. พื้นที่แต่ละหน่วยงานห่างไกลกัน

2. ระบบเครือข่ายยังไม่ครอบคลุมพื้นที่การให้บริการ

3. ช่องทางการประชาสัมพันธ์ขาดการดึงดูดความสนใจจากบุคคลภายนอก

4. ระบบในการจำแนกบุคคลภายนอกที่เข้าดูเว็บไซต์ของหน่วยงานยังไม่สมบูรณ์

5. software /ฐานข้อมูล ขาดการเชื่อมโยงในระบบการบริหารจัดการ

6. พื้นที่ใช้งาน อาคาร ห้องน้ำ ห้องเรียน และครุภัณฑ์การเรียนการสอน ชำรุดเสียหายไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ

7. ขยะภายในอาคารมีจำนวนมากและการจัดการขยะยังไม่เป็นระบบเท่าที่ควร

 

1

1

1

1

2

2

 

1

 

1

1

1

1

1

2

 

1

 

1

1

1

1

2

2

 

1

 

3

3

3

3

5

6

 

3

ภายใน

1. ศักยภาพของบุคลากรไม่สอดคล้องกับภาระงานที่รับผิดชอบ

2. บุคลากรมีการปรับเปลี่ยนภาระหน้าที่ที่ปฏิบัติบ่อยครั้ง

3. กระบวนการ และระยะเวลาในการขอตำแหน่งที่สูงขึ้น ยังขาดความชัดเจน

4. การพัฒนาทักษะของบุคลากรยังไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีใหม่

 

1

2

1

1

 

1

1

1

1

 

1

2

1

1

 

3

5

3

3

 

2.3 มีการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 8/2564 วันที่ 24 พฤศจิกายน 2564 (1.4-2(3)) เพื่อ (ยกร่าง) แผนบริหารความเสี่ยงสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีงบประมาณ 2564 (1.4-2(4)) โดยร่วมกันวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง จากภายในและภายนอก ที่ครอบคลุมพันธกิจของสำนักทุกด้าน

 

ยุทธศาสตร์ที่ 1  :  การยกระดับคุณภาพการให้บริการและสนับสนุนการจัดเรียนการสอน

เป้าประสงค์  :  บัณฑิตเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรู้ความสามารถและจิตอาสา มีทักษะในการประกอบอาชีพ และสามารถบูรณาการความรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและประเทศ

กลยุทธ์ที่ 1.1  :  พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน และการประกันคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

หน่วยงานที่รับผิดชอบ  :  สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ

วัตถุประสงค์โครงการ  :  เพื่อพัฒนาระบบการรับสมัครนักศึกษาให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยง (KRIs) : จำนวนนักศึกษรายงานตัว ร้อยละ 80 ของแผนการรับ

ความเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง

ลำดับ

ความ

เสี่ยง

กลยุทธ์

ที่ใช้ฯ

โอกาส

ผล

กระทบ

ระดับความเสี่ยง

R1 - อัตราการเกิดของประชากรมีแนวโน้มลดลง ประกอบกับค่านิยมของผู้เรียนยังคงเลือกเรียนมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง

ภายใน

- การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยเพื่อดึงดูดผู้เรียน ยังมีน้อย

- หน่วยงานยังติดรูปแบบสื่อประชาสัมพันธ์แบบราชการ ไม่ให้ความสำคัญกับการทำรูปแบบที่ทันสมัยเพื่อดึงดูดกลุ่มวัยรุ่นที่จะเข้ามาศึกษา

- บุคลากรภายในขาดการศึกษาข้อมูลก่อนเผยแพร่ข่าวสาร และไม่ใช้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข่าวสารที่ดีของมหาวิทยาลัย โดยเน้นพาดหัวข่าวที่ตนเองสนใจแล้วเผยแพร่ในทันที ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์องค์กร และลดความน่าเชื่อถือของบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย

ภายนอก

- ขาดงบประมาณในการพัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ ที่จะเป็นสถานที่ดึงดูดให้บุคคลภายนอกเข้ามาใช้บริการหรือให้ความสนใจเข้ามาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย

5

5

25

1

ควบคุม

 

 

 

ยุทธศาสตร์ที่ 1  :  การยกระดับคุณภาพการให้บริการและสนับสนุนการจัดเรียนการสอน

เป้าประสงค์  :  บัณฑิตเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรู้ความสามารถและจิตอาสา มีทักษะในการประกอบอาชีพ และสามารถบูรณาการความรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและประเทศ

กลยุทธ์ที่ 2   :  พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการกำลังพล และการเปลี่ยนแปลทางสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม

หน่วยงานที่รับผิดชอบ  :  สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ

วัตถุประสงค์โครงการ  :  เพื่อพัฒนาระบบและกลไกสำหรับการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารคลังหน่วยกิต

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยง (KRIs) : มีระบบและกลไกสำหรับการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารคลังหน่วยกิต

ความเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง

ลำดับ

ความ

เสี่ยง

กลยุทธ์

ที่ใช้ฯ

โอกาส

ผล

กระทบ

ระดับความเสี่ยง

R2 - บุคลากรยังขาดความเข้าใจเรื่องการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายใน

- ขาดการทบทวนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่สอดคล้องและทันสมัยในสถานการณ์ปัจจุบัน

- ขาดระบบและกลไกการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายนอก

- ระเบียบและข้อบังคับบางอย่างยังไม่ประกาศใช้หรือบังคับให้มีผล

5

3

15

2

ควบคุม

 

ยุทธศาสตร์ที่ 3  :  เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาองค์การอย่างยั่งยืน

เป้าประสงค์  :  ระบบบริหารจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้

กลยุทธ์ที่ 2  พัฒนาสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการให้เป็น Green Office

หน่วยงานที่รับผิดชอบ  :  สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ

วัตถุประสงค์โครงการ  :  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัย

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยง (KRIs) : มีระบบบริหารจัดการด้านการให้บริการ 1 ระบบ

ความเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง

ลำดับ

ความ

เสี่ยง

กลยุทธ์

ที่ใช้ฯ

โอกาส

ผล

กระทบ

ระดับความเสี่ยง

R3 - software /ฐานข้อมูล ขาดการเชื่อมโยงในระบบการบริหารจัดการ

ภายใน

- ขาดการวางแผนในการใช้ระบบเพื่อการบริหารจัดการองค์กร

4

2

8

3

ควบคุม

 

ยุทธศาสตร์ที่ 3  :  เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาองค์การอย่างยั่งยืน

เป้าประสงค์  :  ระบบบริหารจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้

กลยุทธ์ที่ พัฒนาสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการให้เป็น Green Office

หน่วยงานที่รับผิดชอบ  :  สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ

วัตถุประสงค์โครงการ  :  เพื่อปรับปรุงสถานที่ให้บริการแก่นักศึกษา อาจารย์ หรือบุคคลภายนอกที่ขอรับบริการ

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยง (KRIs) : พื้นที่ใช้งาน อาคาร ห้องน้ำ ห้องเรียนฯลฯ ใช้งานได้ 100%

ความเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง

ลำดับ

ความ

เสี่ยง

กลยุทธ์

ที่ใช้ฯ

โอกาส

ผล

กระทบ

ระดับความเสี่ยง

R4 - พื้นที่ใช้งาน อาคาร ห้องน้ำ ห้องเรียน และครุภัณฑ์การเรียนการสอน ชำรุดเสียหายไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ

ภายใน

- อาคารมีอายุการใช้งานมาเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดความชำรุดเสียหายของฝ้า เพดาน หลังคา ห้องน้ำฯลฯ

5

5

25

1

โอนย้าย

 

ยุทธศาสตร์ที่ 3  :  เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาองค์การอย่างยั่งยืน

เป้าประสงค์  :  ระบบบริหารจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้

กลยุทธ์ที่ 3  พัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรอย่างต่อเนื่องและส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรให้บุคลากรมีส่วนร่วม

หน่วยงานที่รับผิดชอบ  :  สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ

วัตถุประสงค์โครงการ  :  เพื่อได้แนวปฏิบัติที่ดีในการให้บริการที่ชัดเจน

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยง (KRIs) : มีแนวปฏิบัติที่ดี 1 เรื่อง

ความเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง

ลำดับ

ความ

เสี่ยง

กลยุทธ์

ที่ใช้ฯ

โอกาส

ผล

กระทบ

ระดับความเสี่ยง

R5 - บุคลากรมีการปรับเปลี่ยนภาระหน้าที่ที่ปฏิบัติบ่อยครั้ง

ภายใน

- ศักยภาพและความสามารถของบุคลากรไม่สามารถปฏิบัติงานตอบความต้องการของส่วนงานได้อย่างเต็มที่

1

2

2

4

ควบคุม

 

3มีการประเมินโอกาส ผลกระทบของความเสี่ยง และจัดลําดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2 โดยระบุไว้ในแผนบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน และแผนบริหารความเสี่ยงจะต้องผ่านการอนุมัติเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําหน่วยงาน

3. สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มีการประเมินโอกาส ผลกระทบของความเสี่ยง ดังนี้

3.1 มีการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 8/2564 วันที่ 24 พฤศจิกายน 2564 (1.4-3(1)) เพื่อร่วมกันประเมินโอกาส ผลกระทบของความเสี่ยง และจัดลำดับความเสี่ยง โดยระบุไว้ในแผนบริหารความเสี่ยงสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีงบประมาณ 2564 (1.4-3(2)) พบว่า มีประเด็นความเสี่ยง จำนวน 5 ประเด็น โดยเรียงระดับความเสี่ยงจากมากไปหาน้อยที่เกิดจากผลการประเมินโอกาส และผลกระทบ ได้ดังนี้

ปัจจัยเสี่ยง

ประเมินความเสี่ยง

ลำดับความเสี่ยง

โอกาส (L)

ผล

กระทบ (I)

ระดับความเสี่ยง (LxI)

R1 - อัตราการเกิดของประชากรมีแนวโน้มลดลง ประกอบกับค่านิยมของผู้เรียนยังคงเลือกเรียนมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง

ภายใน

- การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยเพื่อดึงดูดผู้เรียน ยังมีน้อย

- หน่วยงานยังติดรูปแบบสื่อประชาสัมพันธ์แบบราชการ ไม่ให้ความสำคัญกับการทำรูปแบบที่ทันสมัยเพื่อดึงดูดกลุ่มวัยรุ่นที่จะเข้ามาศึกษา

- บุคลากรภายในขาดการศึกษาข้อมูลก่อนเผยแพร่ข่าวสาร และไม่ใช้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข่าวสารที่ดีของมหาวิทยาลัย โดยเน้นพาดหัวข่าวที่ตนเองสนใจแล้วเผยแพร่ในทันที ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์องค์กร และลดความน่าเชื่อถือของบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย

ภายนอก

- ขาดงบประมาณในการพัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ ที่จะเป็นสถานที่ดึงดูดให้บุคคลภายนอกเข้ามาใช้บริการหรือให้ความสนใจเข้ามาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย

5

5

25

1

R2 - บุคลากรยังขาดความเข้าใจเรื่องการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายใน

- ขาดการทบทวนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่สอดคล้องและทันสมัยในสถานการณ์ปัจจุบัน

- ขาดระบบและกลไกการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายนอก

- ระเบียบและข้อบังคับบางอย่างยังไม่ประกาศใช้หรือบังคับให้มีผล

5

3

15

2

R3 - software /ฐานข้อมูล ขาดการเชื่อมโยงในระบบการบริหารจัดการ

ภายใน

- ขาดการวางแผนในการใช้ระบบเพื่อการบริหารจัดการองค์กร

4

2

8

3

 

3.2 แผนบริหารความเสี่ยงสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีงบประมาณ 2565 (1.4-3(2)) ผ่านความเห็นชอบตามมติที่ประชุมคณะกรรมการประจำสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 2/2564 วันที่ 27 ธันวาคม 2564 (1.4-3(1))

 

ยุทธศาสตร์ที่ 1  :  การยกระดับคุณภาพการให้บริการและสนับสนุนการจัดเรียนการสอน

เป้าประสงค์  :  บัณฑิตเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรู้ความสามารถและจิตอาสา มีทักษะในการประกอบอาชีพ และสามารถบูรณาการความรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและประเทศ

กลยุทธ์ที่ 1  :  พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน และการประกันคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

ความเสี่ยง : R1 - อัตราการเกิดของประชากรมีแนวโน้มลดลง ประกอบกับค่านิยมของผู้เรียนยังคงเลือกเรียนมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง

ปัจจัยเสี่ยง :

ภายใน

            - การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยเพื่อดึงดูดผู้เรียน ยังมีน้อย

            - หน่วยงานยังติดรูปแบบสื่อประชาสัมพันธ์แบบราชการ ไม่ให้ความสำคัญกับการทำรูปแบบที่ทันสมัยเพื่อดึงดูดกลุ่มวัยรุ่นที่จะเข้ามาศึกษา

            - บุคลากรภายในขาดการศึกษาข้อมูลก่อนเผยแพร่ข่าวสาร และไม่ใช้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข่าวสารที่ดีของมหาวิทยาลัย โดยเน้นพาดหัวข่าวที่ตนเองสนใจแล้วเผยแพร่ในทันที ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์องค์กร และลดความน่าเชื่อถือของบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย

ภายนอก

            - ขาดงบประมาณในการพัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ ที่จะเป็นสถานที่ดึงดูดให้บุคคลภายนอกเข้ามาใช้บริการหรือให้ความสนใจเข้ามาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย

มาตรการ/กิจกรรมควบคุม/แนวทางการจัดการความเสี่ยง

            1. เพิ่มช่องทางการแนะแนวการศึกษาต่อโดยใช้สื่อโซเซียลและออนไลน์ให้หลากหลายมีประสิทธิภาพ

            2. สร้างเครือข่ายในโรงเรียนเพื่อความเข้าใจหลักสูตร การเรียนการสอน การได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา

            3. พัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรให้ตรงกับความต้องการและทิศทางการพัฒนาประเทศ

            4. ส่งเสริมให้ทุกหลักสูตรมีการบูรณาการการเรียน - การสอนควบคู่กับการทำงาน หรือระบบสหกิจศึกษา

            5. จัดกิจกรรมรับสมัครนักศึกษาเชิงรุกเพื่อสร้างความเข้าใจในการสมัครและรายงานตัวนักศึกษาใหม่

ระยะเวลาแล้วเสร็จ : มิ.ย. 64  - พ.ค.  65

ผู้รับผิดชอบ/ผู้กำกับ/ติดตาม : งานทะเบียนและประมวลผล

 

ความเสี่ยง : R2 - บุคลากรยังขาดความเข้าใจเรื่องการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ปัจจัยเสี่ยง :

ภายใน

            - ขาดการทบทวนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่สอดคล้องและทันสมัยในสถานการณ์ปัจจุบัน

            - ขาดระบบและกลไกการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายนอก

            - ระเบียบและข้อบังคับบางอย่างยังไม่ประกาศใช้หรือบังคับให้มีผล

มาตรการ/กิจกรรมควบคุม/แนวทางการจัดการความเสี่ยง

            1. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งกรรมการดำเนินงานทบทวน และยกร่าง กฎระเบียบ ข้อบังคับ ด้านการวิชาการ การจัดการเรียนการสอน และการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

            2. ยกร่างระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศ เข้าพิจารณาในการประชุมคณะกรรมการวิชาการ คณะกรรมการกลั่นกรอง คณะกรรมการอนุกฎหมาย ของมหาวิทยาลัย

            3. ปรับแก้ร่างระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศ ที่ผ่านการเห็นชอบตามข้อ 2 เข้าพิจารณาในการประชุมคณะกรรมการสภาวิชาการ

            4. ปรับแก้ร่างระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศ ที่ผ่านการเห็นชอบตามข้อ 3 เข้าพิจารณาในการประชุมสภามหาวิทยาลัย

            5. ปรับแก้ร่างระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศที่ผ่านการอนมัติตามข้อ 4 เพื่อประกาศเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย

ระยะเวลาแล้วเสร็จ : มิ.ย. 64  - พ.ค.  65

ผู้รับผิดชอบ/ผู้กำกับ/ติดตาม : งานส่งเสริมวิชาการ

 

ความเสี่ยง : R3 - software /ฐานข้อมูล ขาดการเชื่อมโยงในระบบการบริหารจัดการ

ปัจจัยเสี่ยง :

ภายใน

            - ขาดการวางแผนในการใช้ระบบเพื่อการบริหารจัดการองค์กร

มาตรการ/กิจกรรมควบคุม/แนวทางการจัดการความเสี่ยง

            - แต่งตั้งคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงานการใช้ระบบเพื่อการบริหารจัดการภายในองค์กร ด้านการให้บริการแก่นักศึกษา

            - จัดประชุมเพื่อกำหนดระบบด้านการให้บริการแก่นักศึกษาที่ต้องการพัฒนา ไม่น้อยกว่า 1 ระบบ

            - พัฒนาระบบการบริหารจัดการด้านการให้บริการ และจัดทำผังขั้นตอนเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การให้บริการ

            - สำรวจความพึงพอใจผู้ใช้ระบบด้านการให้บริการแก่นักศึกษาเพื่อปรับปรุงและพัฒนาต่อไป

ระยะเวลาแล้วเสร็จ : มิ.ย. 64  - พ.ค.  65

ผู้รับผิดชอบ/ผู้กำกับ/ติดตาม : งานทะเบียนและประมวลผล

 

ความเสี่ยง : R4 - พื้นที่ใช้งาน อาคาร ห้องน้ำ ห้องเรียน และครุภัณฑ์การเรียนการสอน ชำรุดเสียหายไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ

ปัจจัยเสี่ยง :

ภายใน

            - อาคารมีอายุการใช้งานมาเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดความชำรุดเสียหายของฝ้า เพดาน หลังคา ห้องน้ำฯลฯ

มาตรการ/กิจกรรมควบคุม/แนวทางการจัดการความเสี่ยง

            - ทำบันทึกแจ้งฝ่ายอาคารเพื่อดำเนินการปรับปรุงฝ้า เพดาน หลังคา ห้องน้ำ เพื่อให้สามารถใช้งานได้

ระยะเวลาแล้วเสร็จ : มิ.ย. 64  - พ.ค.  65

ผู้รับผิดชอบ/ผู้กำกับ/ติดตาม : งานบริหารทั่วไป

 

3.3 มีการประชุมคณะกรรมการประจำสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 2/2564 วันที่ 27 ธันวาคม 2564 (1.4-3(3)) เพื่อพิจารณา ร่าง แผนบริหารความเสี่ยงสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีมติที่ประชุม เห็นชอบ และให้ข้อเสนอแนะ 1) การแนะแนวการศึกษาต่อออนไลน์ 2) การพัฒนาระบบการให้บริการ และ 3) การพัฒนาระบบและกลไกการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

4มีแผนการดําเนินงานหรือโครงการ/กิจกรรมในการบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูงหรือความเสี่ยง ที่หน่วยต้องเร่งดําเนินการด่วน และบอกได้ถึงวิธีการจัดการความเสี่ยงที่ทําให้ความเสี่ยงในประเด็นต่างๆ มีระดับความเสี่ยงลดลงอย่างน้อย 1 เรื่อง

4. สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มีแผนการดําเนินงานหรือโครงการ/กิจกรรมในการบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูงหรือความเสี่ยง ที่หน่วยต้องเร่งดําเนินการด่วน ดังนี้

4.1 มีการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 1/2565 วันที่ 24 มกราคม 2565 (1.4-4(1)) เพื่อร่วมกันสรุปผลการดำเนินงานตามภาระหน้าที่ งบประมาณ โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลาการบริหารความเสี่ยง โดยระบุไว้ในแผนบริหารความเสี่ยงสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีงบประมาณ 2565 (1.4-4(2))

ปัจจัยเสี่ยง

แนวทางการจำกัดความเสี่ยง

ตัวชี้วัด

ผลการดำเนินงาน

บรรลุ

R1 - อัตราการเกิดของประชากรมีแนวโน้มลดลง ประกอบกับค่านิยมของผู้เรียนยังคงเลือกเรียนมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง

ภายใน

- การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยเพื่อดึงดูดผู้เรียน ยังมีน้อย

- หน่วยงานยังติดรูปแบบสื่อประชาสัมพันธ์แบบราชการ ไม่ให้ความสำคัญกับการทำรูปแบบที่ทันสมัยเพื่อดึงดูดกลุ่มวัยรุ่นที่จะเข้ามาศึกษา

- บุคลากรภายในขาดการศึกษาข้อมูลก่อนเผยแพร่ข่าวสาร และไม่ใช้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข่าวสารที่ดีของมหาวิทยาลัย โดยเน้นพาดหัวข่าวที่ตนเองสนใจแล้วเผยแพร่ในทันที ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์องค์กร และลดความน่าเชื่อถือของบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย

ภายนอก

- ขาดงบประมาณในการพัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ ที่จะเป็นสถานที่ดึงดูดให้บุคคลภายนอกเข้ามาใช้บริการหรือให้ความสนใจเข้ามาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย

1. เพิ่มช่องทางการแนะแนวการศึกษาต่อโดยใช้สื่อโซเซียลและออนไลน์ให้หลากหลายมีประสิทธิภาพ

2. สร้างเครือข่ายในโรงเรียนเพื่อความเข้าใจหลักสูตร การเรียนการสอน การได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา

3. พัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรให้ตรงกับความต้องการและทิศทางการพัฒนาประเทศ

4. ส่งเสริมให้ทุกหลักสูตรมีการบูรณาการการเรียน - การสอนควบคู่กับการทำงาน หรือระบบสหกิจศึกษา

5. จัดกิจกรรมรับสมัครนักศึกษาเชิงรุกเพื่อสร้างความเข้าใจในการสมัครและรายงานตัวนักศึกษาใหม่

 

จำนวนนักศึกษา ร้อยละ 80 ของแผนการรับ

จำนวนนักศึกษาใหม่ 1,597 คน คิดเป็น ร้อยละ 70.04 ของแผนการรับ

ไม่บรรลุ

R2 - บุคลากรยังขาดความเข้าใจเรื่องการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายใน

- ขาดการทบทวนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่สอดคล้องและทันสมัยในสถานการณ์ปัจจุบัน

- ขาดระบบและกลไกการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายนอก

- ระเบียบและข้อบังคับบางอย่างยังไม่ประกาศใช้หรือบังคับให้มีผล

1. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งกรรมการดำเนินงานทบทวน และยกร่าง กฎระเบียบ ข้อบังคับ ด้านการวิชาการ การจัดการเรียนการสอน และการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

2. ยกร่างระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศ เข้าพิจารณาในการประชุมคณะกรรมการวิชาการ คณะกรรมการกลั่นกรอง คณะกรรมการอนุกฎหมาย ของมหาวิทยาลัย

3. ปรับแก้ร่างระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศ ที่ผ่านการเห็นชอบตามข้อ 2 เข้าพิจารณาในการประชุมคณะกรรมการสภาวิชาการ

4. ปรับแก้ร่างระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศ ที่ผ่านการเห็นชอบตามข้อ 3 เข้าพิจารณาในการประชุมสภามหาวิทยาลัย

5. ปรับแก้ร่างระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศที่ผ่านการอนมัติตามข้อ 4 เพื่อประกาศเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์

6. ทำบันทึกแจ้งระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศตามข้อ 4 ไปทุกคณะ และขอให้คณะจัดส่งหลักสูตรที่ประสงค์เข้าร่วมในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

7. นำระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศตามข้อ 4 เข้าเสนอที่ประชุมคณะกรรมการวิชาการ คณะกรรมการหมวดวิชาการศึกษาทั่วไป เพื่อทราบ

มีระบบและกลไกการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

มหาวิทยาลัยได้ประกาศใช้ระเบียบและข้อบังคับด้านวิชการและคลังหน่วยกิต ในปีการศึกษา 2564 จำนวน 6 เรื่อง ดังนี้ 1. ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เรื่อง การบริหารจัดการศึกษาระบบคลังหน่วยกิต มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ พ.ศ. 2564

2. ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เรื่อง อัตราค่าธรรมเนียมในการจัดการศึกษาระบบคลังหน่วยกิต พ.ศ. 2564

3. ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เรื่อง การจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มพูนความรู้และสะสมหน่วยกิต พ.ศ. 2564

4. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ  ว่าด้วย  การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565

5. ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ว่าด้วย  การเทียบโอนผลการเรียน  และการยกเว้นการเรียนรายวิชา  พ.ศ. 2565

6. ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ว่าด้วย  การออกหลักฐานแสดงผลการศึกษา พ.ศ. 2565

บรรลุ

R3 – software /ฐานข้อมูล ขาดการเชื่อมโยงในระบบการบริหารจัดการ

ภายใน

- ขาดการวางแผนในการใช้ระบบเพื่อการบริหารจัดการองค์กร

- แต่งตั้งคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงานการใช้ระบบเพื่อการบริหารจัดการภายในองค์กร ด้านการให้บริการแก่นักศึกษา

- จัดประชุมเพื่อกำหนดระบบด้านการให้บริการแก่นักศึกษาที่ต้องการพัฒนา ไม่น้อยกว่า 1 ระบบ

- พัฒนาระบบการบริหารจัดการด้านการให้บริการ และจัดทำผังขั้นตอนเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การให้บริการ

- สำรวจความพึงพอใจผู้ใช้ระบบด้านการให้บริการแก่นักศึกษาเพื่อปรับปรุงและพัฒนาต่อไป

ระบบการให้บริการ 1 ระบบ

ระบบจองรายวิชาและพิมพ์บัตรลงทะเบียนเรียน

บรรลุ

 

5มีการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานผลตามระยะเวลา ที่กําหนดในรอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน เสนอต่อคณะผู้บริหารได้รับทราบและพิจารณาข้อคิดเห็น หรือ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาร่วมกัน

5. สำนักส่งเสริมและบริการวิชการ มีการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานผลตามระยะเวลา ที่กําหนดในรอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน เสนอต่อคณะผู้บริหารได้รับทราบและพิจารณาข้อคิดเห็น หรือ ข้อเสนอแนะ ดังนี้

5.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยง ระดับสำนัก ประจำปีงบประมาณ 2565 ที่ 051/2564 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2564  (1.4-5(1)) โดยมีผู้บริหาร คือ รองผู้อำนวยการสำนักฯ หัวหน้าสำนักงานอำนวยการ และหัวหน้างานบริหารงานทั่วไป เพื่อทำหน้าที่ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานแผนบริหารความเสี่ยง รวมทั้งกำหนดแนวทาง ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแผนการบริหารความเสี่ยง และพิจารณาจัดการทำรายงานสรุปผลการประเมินการบริหารความเสี่ยงต่อคณะกรรมการบริหารสำนักอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง

 

5.2 มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีงบประมาณ 2565 ครั้งที่ 1 (1.4-5(2)) เสนอต่อคณะกรรมบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 1/2565 วันที่ 24 มกราคม 2565 (1.4-5(3)) ดังนี้

ปัจจัยเสี่ยง

ผลการดำเนินงาน

R1 - อัตราการเกิดของประชากรมีแนวโน้มลดลง ประกอบกับค่านิยมของผู้เรียนยังคงเลือกเรียนมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง

ภายใน

- การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยเพื่อดึงดูดผู้เรียน ยังมีน้อย

- หน่วยงานยังติดรูปแบบสื่อประชาสัมพันธ์แบบราชการ ไม่ให้ความสำคัญกับการทำรูปแบบที่ทันสมัยเพื่อดึงดูดกลุ่มวัยรุ่นที่จะเข้ามาศึกษา

- บุคลากรภายในขาดการศึกษาข้อมูลก่อนเผยแพร่ข่าวสาร และไม่ใช้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข่าวสารที่ดีของมหาวิทยาลัย โดยเน้นพาดหัวข่าวที่ตนเองสนใจแล้วเผยแพร่ในทันที ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์องค์กร และลดความน่าเชื่อถือของบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย

ภายนอก

- ขาดงบประมาณในการพัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ ที่จะเป็นสถานที่ดึงดูดให้บุคคลภายนอกเข้ามาใช้บริการหรือให้ความสนใจเข้ามาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย

1. โครงการแนะแนวการศึกษาต่อ (เดือน ต.ค. - ธ.ค. 64)

2. โครงการรับสมัครนักศึกษาใหม่ (รอบโควตา และรอบทั่วไป)

3. ประชาสัมพันธ์ผ่านสถานีวิทยุโทรศัพท์ facebook line หนังสือส่งออก หลากหลายช่องทาง

จำนวนนักศึกษารายงานตัว (24 ม.ค. 65) 992 คน คิดเป็นร้อยละ 39.25 ของแผนการรับ (2,280 คน)

R2 - บุคลากรยังขาดความเข้าใจเรื่องการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายใน

- ขาดการทบทวนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่สอดคล้องและทันสมัยในสถานการณ์ปัจจุบัน

- ขาดระบบและกลไกการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายนอก

- ระเบียบและข้อบังคับบางอย่างยังไม่ประกาศใช้หรือบังคับให้มีผล

ผ่านความเห็นชอบจากกรรมการวิชาการและคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย

1. ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เรื่อง การบริหารจัดการศึกษาระบบคลังหน่วยกิต มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ พ.ศ. 2564

2. ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เรื่อง อัตราค่าธรรมเนียมในการจัดการศึกษาระบบคลังหน่วยกิต พ.ศ. 2564

3. ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เรื่อง การจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มพูนความรู้และสะสมหน่วยกิต พ.ศ. 2564

4. แนวทางจัดการระบบคลังหน่วยกิต มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

 

5.3 มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีงบประมาณ 2565 ครั้งที่ 2 (1.4-5(4)) เสนอต่อคณะกรรมบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 2/2565 วันที่ 3 มีนาคม 2565 (1.4-5(5)) ดังนี้

ปัจจัยเสี่ยง

ผลการดำเนินงาน

R1 - อัตราการเกิดของประชากรมีแนวโน้มลดลง ประกอบกับค่านิยมของผู้เรียนยังคงเลือกเรียนมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง

ภายใน

- การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยเพื่อดึงดูดผู้เรียน ยังมีน้อย

- หน่วยงานยังติดรูปแบบสื่อประชาสัมพันธ์แบบราชการ ไม่ให้ความสำคัญกับการทำรูปแบบที่ทันสมัยเพื่อดึงดูดกลุ่มวัยรุ่นที่จะเข้ามาศึกษา

- บุคลากรภายในขาดการศึกษาข้อมูลก่อนเผยแพร่ข่าวสาร และไม่ใช้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข่าวสารที่ดีของมหาวิทยาลัย โดยเน้นพาดหัวข่าวที่ตนเองสนใจแล้วเผยแพร่ในทันที ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์องค์กร และลดความน่าเชื่อถือของบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย

ภายนอก

- ขาดงบประมาณในการพัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ ที่จะเป็นสถานที่ดึงดูดให้บุคคลภายนอกเข้ามาใช้บริการหรือให้ความสนใจเข้ามาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย

1. โครงการแนะแนวการศึกษาต่อ (เดือน ต.ค. - ธ.ค. 64)

2. โครงการรับสมัครนักศึกษาใหม่ (รอบโควตา และรอบทั่วไป)

3. ประชาสัมพันธ์ผ่านสถานีวิทยุโทรศัพท์ facebook line หนังสือส่งออก หลากหลายช่องทาง

4. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อจัดทำแนวปฏิบัติที่ดี การแนะแนวการศึกษาต่อผ่านระบบออนไลน์ โดยการร่วมมือจากทุกคณะและหน่วยงาน ระหว่างวันที่ 31 ม.ค. – 4 มี.ค. 2564

5. จัดทำเว็บไซต์รับสมัครนักศึกษาใหม่ เพื่อเป็นช่องทางการรับสมัครนักศึกษาออนไลน์

จำนวนนักศึกษารายงานตัว (3 มีนาคม 2565) 997 คน คิดเป็นร้อยละ 43.73 ของแผนการรับ (2,280 คน)

R2 - บุคลากรยังขาดความเข้าใจเรื่องการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายใน

- ขาดการทบทวนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่สอดคล้องและทันสมัยในสถานการณ์ปัจจุบัน

- ขาดระบบและกลไกการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายนอก

- ระเบียบและข้อบังคับบางอย่างยังไม่ประกาศใช้หรือบังคับให้มีผล

ผ่านความเห็นชอบจากกรรมการวิชาการและคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย จำนวน 3 ฉบับ

1. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ  ว่าด้วย  การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565

2. ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ว่าด้วย  การเทียบโอนผลการเรียน  และการยกเว้นการเรียนรายวิชา  พ.ศ. 2565

3. ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ว่าด้วย  การออกหลักฐานแสดงผลการศึกษา พ.ศ. 2565

 

ดำเนินการยกร่างและปรับแก้ ข้อบังคับ ระเบียบ ด้านวิชาการ จำนวน 3 ฉบับ

1. ร่าง ข้อบังคับการจัดการศึกษา ระดับปริญญาตรี

2. ร่าง ระเบียบการเทียบโอนผลการเรียนและยกเว้นรายวิชาเรียน

3. ร่าง ระเบียบการออกหลักฐานแสดงผลการเรียน

R4 - พื้นที่ใช้งาน อาคาร ห้องน้ำ ห้องเรียน และครุภัณฑ์การเรียนการสอน ชำรุดเสียหายไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ

ภายใน

- อาคารมีอายุการใช้งานมาเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดความชำรุดเสียหายของฝ้า เพดาน หลังคา ห้องน้ำฯลฯ

1. ประชุมแม่บ้าน แบ่งการรับผิดชอบเป็นชั้น เพื่อจัดทำสรุปห้องเรียน ห้องน้ำ ครุภัณฑ์ ฯลฯ ที่ต้องซ่อมแซม

 

 

5.4 มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีงบประมาณ 2565 ครั้งที่ 3 (1.4-5(6)) เสนอต่อคณะกรรมบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 3/2565 วันที่ 7 เมษายน 2565 (1.4-5(7)) ดังนี้

ปัจจัยเสี่ยง

ผลการดำเนินงาน

R1 - อัตราการเกิดของประชากรมีแนวโน้มลดลง ประกอบกับค่านิยมของผู้เรียนยังคงเลือกเรียนมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง

ภายใน

- การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยเพื่อดึงดูดผู้เรียน ยังมีน้อย

- หน่วยงานยังติดรูปแบบสื่อประชาสัมพันธ์แบบราชการ ไม่ให้ความสำคัญกับการทำรูปแบบที่ทันสมัยเพื่อดึงดูดกลุ่มวัยรุ่นที่จะเข้ามาศึกษา

- บุคลากรภายในขาดการศึกษาข้อมูลก่อนเผยแพร่ข่าวสาร และไม่ใช้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข่าวสารที่ดีของมหาวิทยาลัย โดยเน้นพาดหัวข่าวที่ตนเองสนใจแล้วเผยแพร่ในทันที ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์องค์กร และลดความน่าเชื่อถือของบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย

ภายนอก

- ขาดงบประมาณในการพัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ ที่จะเป็นสถานที่ดึงดูดให้บุคคลภายนอกเข้ามาใช้บริการหรือให้ความสนใจเข้ามาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย

1. โครงการแนะแนวการศึกษาต่อ (เดือน ต.ค. - ธ.ค. 64)

2. โครงการรับสมัครนักศึกษาใหม่ (รอบโควตา และรอบทั่วไป)

3. ประชาสัมพันธ์ผ่านสถานีวิทยุโทรศัพท์ facebook line หนังสือส่งออก หลากหลายช่องทาง

4. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อจัดทำแนวปฏิบัติที่ดี การแนะแนวการศึกษาต่อผ่านระบบออนไลน์ โดยการร่วมมือจากทุกคณะและหน่วยงาน ระหว่างวันที่ 31 ม.ค. – 4 มี.ค. 2564

5. จัดทำเว็บไซต์รับสมัครนักศึกษาใหม่ เพื่อเป็นช่องทางการรับสมัครนักศึกษาออนไลน์

จำนวนนักศึกษารายงานตัว (7 เมษายน 2565) 1,186 คน คิดเป็นร้อยละ 52 ของแผนการรับ (2,280 คน)

R2 - บุคลากรยังขาดความเข้าใจเรื่องการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายใน

- ขาดการทบทวนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่สอดคล้องและทันสมัยในสถานการณ์ปัจจุบัน

- ขาดระบบและกลไกการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายนอก

- ระเบียบและข้อบังคับบางอย่างยังไม่ประกาศใช้หรือบังคับให้มีผล

ผ่านความเห็นชอบจากกรรมการวิชาการและคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย

1. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ  ว่าด้วย การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565

2. ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ว่าด้วย การเทียบโอนผลการเรียนและการยกเว้นการเรียนรายวิชา  พ.ศ. 2565

3. ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ว่าด้วย การออกหลักฐานแสดงผลการศึกษา พ.ศ. 2565

 

ดำเนินการยกร่างและปรับแก้ ข้อบังคับ ระเบียบ ด้านวิชาการ เสนอที่ประชุมคณะกรรมการวิชาการ กรรมการกลั่นกรอง จำนวน 3 ฉบับ

1. ร่าง ข้อบังคับการจัดการศึกษา ระดับปริญญาตรี

2. ร่าง ระเบียบการเทียบโอนผลการเรียนและยกเว้นรายวิชาเรียน

3. ร่าง ระเบียบการออกหลักฐานแสดงผลการเรียน

R4 - พื้นที่ใช้งาน อาคาร ห้องน้ำ ห้องเรียน และครุภัณฑ์การเรียนการสอน ชำรุดเสียหายไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ

ภายใน

- อาคารมีอายุการใช้งานมาเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดความชำรุดเสียหายของฝ้า เพดาน หลังคา ห้องน้ำฯลฯ

1. ประชุมแม่บ้าน แบ่งการรับผิดชอบเป็นชั้น เพื่อจัดทำสรุปห้องเรียน ห้องน้ำ ครุภัณฑ์ ฯลฯ ที่ต้องซ่อมแซม

2. ทำบันทึกแจ้งมหาวิทยาลัยเพื่อมอบหน่วยงานที่ดูแลด้านการซ่อมแซมห้องเรียน ห้องน้ำ ครุภัณฑ์ ฯลฯ ให้ได้ใช้งานทันก่อนการเปิดภาคเรียน

 

5.3 มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีงบประมาณ 2565 ครั้งที่ 4 (1.4-5(8)) เสนอคณะกรรมการบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 4/2565 วันที่ 6 พฤษภาคม 2565  (1.4-5(9))

ปัจจัยเสี่ยง

ผลการดำเนินงาน

R1 - อัตราการเกิดของประชากรมีแนวโน้มลดลง ประกอบกับค่านิยมของผู้เรียนยังคงเลือกเรียนมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง

ภายใน

- การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยเพื่อดึงดูดผู้เรียน ยังมีน้อย

- หน่วยงานยังติดรูปแบบสื่อประชาสัมพันธ์แบบราชการ ไม่ให้ความสำคัญกับการทำรูปแบบที่ทันสมัยเพื่อดึงดูดกลุ่มวัยรุ่นที่จะเข้ามาศึกษา

- บุคลากรภายในขาดการศึกษาข้อมูลก่อนเผยแพร่ข่าวสาร และไม่ใช้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข่าวสารที่ดีของมหาวิทยาลัย โดยเน้นพาดหัวข่าวที่ตนเองสนใจแล้วเผยแพร่ในทันที ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์องค์กร และลดความน่าเชื่อถือของบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย

ภายนอก

- ขาดงบประมาณในการพัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ ที่จะเป็นสถานที่ดึงดูดให้บุคคลภายนอกเข้ามาใช้บริการหรือให้ความสนใจเข้ามาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย

1. โครงการแนะแนวการศึกษาต่อ (เดือน ต.ค. - ธ.ค. 64)

2. โครงการรับสมัครนักศึกษาใหม่ (รอบโควตา และรอบทั่วไป)

3. ประชาสัมพันธ์ผ่านสถานีวิทยุโทรศัพท์ facebook line หนังสือส่งออก หลากหลายช่องทาง

4. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อจัดทำแนวปฏิบัติที่ดี การแนะแนวการศึกษาต่อผ่านระบบออนไลน์ โดยการร่วมมือจากทุกคณะและหน่วยงาน ระหว่างวันที่ 31 ม.ค. – 4 มี.ค. 2564

5. จัดทำเว็บไซต์รับสมัครนักศึกษาใหม่ เพื่อเป็นช่องทางการรับสมัครนักศึกษาออนไลน์

จำนวนนักศึกษารายงานตัว (6 พฤษภาคม 2565) 1,378 คน คิดเป็นร้อยละ 60.44 ของแผนการรับ (2,280 คน)

R2 - บุคลากรยังขาดความเข้าใจเรื่องการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายใน

- ขาดการทบทวนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่สอดคล้องและทันสมัยในสถานการณ์ปัจจุบัน

- ขาดระบบและกลไกการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายนอก

- ระเบียบและข้อบังคับบางอย่างยังไม่ประกาศใช้หรือบังคับให้มีผล

ผ่านความเห็นชอบจากกรรมการวิชาการและคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย

1. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ  ว่าด้วย การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565

2. ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ว่าด้วย การเทียบโอนผลการเรียนและการยกเว้นการเรียนรายวิชา  พ.ศ. 2565

3. ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ว่าด้วย การออกหลักฐานแสดงผลการศึกษา พ.ศ. 2565

 

ดำเนินการยกร่างและปรับแก้ ข้อบังคับ ระเบียบ ด้านวิชาการ เสนอที่ประชุมคณะกรรมการวิชาการ กรรมการกลั่นกรอง จำนวน 3 ฉบับ

1. ร่าง ข้อบังคับการจัดการศึกษา ระดับปริญญาตรี

2. ร่าง ระเบียบการเทียบโอนผลการเรียนและยกเว้นรายวิชาเรียน

3. ร่าง ระเบียบการออกหลักฐานแสดงผลการเรียน

R4 - พื้นที่ใช้งาน อาคาร ห้องน้ำ ห้องเรียน และครุภัณฑ์การเรียนการสอน ชำรุดเสียหายไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ

ภายใน

- อาคารมีอายุการใช้งานมาเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดความชำรุดเสียหายของฝ้า เพดาน หลังคา ห้องน้ำฯลฯ

1. ประชุมแม่บ้าน แบ่งการรับผิดชอบเป็นชั้น เพื่อจัดทำสรุปห้องเรียน ห้องน้ำ ครุภัณฑ์ ฯลฯ ที่ต้องซ่อมแซม

2. ทำบันทึกแจ้งมหาวิทยาลัยเพื่อมอบหน่วยงานที่ดูแลด้านการซ่อมแซมห้องเรียน ห้องน้ำ ครุภัณฑ์ ฯลฯ ให้ได้ใช้งานทันก่อนการเปิดภาคเรียน

 

5.4 มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีงบประมาณ 2565 (1.4-5(10)) เสนอคณะกรรมการประจำสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 1/2565 วันที่ 8 มิถุนายน 2565 (1.4-5(11)) ดังนี้

 

ปัจจัยเสี่ยง

ผลการดำเนินงาน

R1 - อัตราการเกิดของประชากรมีแนวโน้มลดลง ประกอบกับค่านิยมของผู้เรียนยังคงเลือกเรียนมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง

ภายใน

- การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยเพื่อดึงดูดผู้เรียน ยังมีน้อย

- หน่วยงานยังติดรูปแบบสื่อประชาสัมพันธ์แบบราชการ ไม่ให้ความสำคัญกับการทำรูปแบบที่ทันสมัยเพื่อดึงดูดกลุ่มวัยรุ่นที่จะเข้ามาศึกษา

- บุคลากรภายในขาดการศึกษาข้อมูลก่อนเผยแพร่ข่าวสาร และไม่ใช้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข่าวสารที่ดีของมหาวิทยาลัย โดยเน้นพาดหัวข่าวที่ตนเองสนใจแล้วเผยแพร่ในทันที ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์องค์กร และลดความน่าเชื่อถือของบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย

ภายนอก

- ขาดงบประมาณในการพัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ ที่จะเป็นสถานที่ดึงดูดให้บุคคลภายนอกเข้ามาใช้บริการหรือให้ความสนใจเข้ามาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย

1. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อจัดทำแนวปฏิบัติที่ดี การแนะแนวการศึกษาต่อผ่านระบบออนไลน์ โดยการร่วมมือจากทุกคณะและหน่วยงาน ระหว่างวันที่ 31 ม.ค. – 4 มี.ค. 2564

2. จัดทำเว็บไซต์รับสมัครนักศึกษาใหม่ เพื่อเป็นช่องทางการรับสมัครนักศึกษาออนไลน์

3. โครงการแนะแนวการศึกษาต่อ (เดือน ต.ค. - ธ.ค. 64)

4. โครงการรับสมัครนักศึกษาใหม่ (รอบโควตา และรอบทั่วไป)

5. ประชาสัมพันธ์ผ่านสถานีวิทยุโทรศัพท์ facebook line หนังสือส่งออก หลากหลายช่องทาง

6. จัดกิจกรรมให้ความรู้เทคนิคการเขียนข่าว การถ่ายภาพ และการผลิตสื่อด้วยมือถือ ในโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคการสื่อสาร การประชาสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ

จำนวนนักศึกษารายงานตัว (8 มิ.ย. 65) 1,577 คน คิดเป็นร้อยละ 69.20 ของแผนการรับ (2,280 คน)

R2 - บุคลากรยังขาดความเข้าใจเรื่องการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายใน

- ขาดการทบทวนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่สอดคล้องและทันสมัยในสถานการณ์ปัจจุบัน

- ขาดระบบและกลไกการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายนอก

- ระเบียบและข้อบังคับบางอย่างยังไม่ประกาศใช้หรือบังคับให้มีผล

ผ่านความเห็นชอบจากกรรมการวิชาการและคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย

1. ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เรื่อง การบริหารจัดการศึกษาระบบคลังหน่วยกิต มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ พ.ศ. 2564

2. ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เรื่อง อัตราค่าธรรมเนียมในการจัดการศึกษาระบบคลังหน่วยกิต พ.ศ. 2564

3. ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เรื่อง การจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มพูนความรู้และสะสมหน่วยกิต พ.ศ. 2564

4. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ  ว่าด้วย  การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565

5. ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ว่าด้วย  การเทียบโอนผลการเรียน  และการยกเว้นการเรียนรายวิชา  พ.ศ. 2565

6. ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ว่าด้วย  การออกหลักฐานแสดงผลการศึกษา พ.ศ. 2565

R4 - พื้นที่ใช้งาน อาคาร ห้องน้ำ ห้องเรียน และครุภัณฑ์การเรียนการสอน ชำรุดเสียหายไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ

ภายใน

- อาคารมีอายุการใช้งานมาเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดความชำรุดเสียหายของฝ้า เพดาน หลังคา ห้องน้ำฯลฯ

1. ประชุมแม่บ้าน แบ่งการรับผิดชอบเป็นชั้น เพื่อจัดทำสรุปห้องเรียน ห้องน้ำ ครุภัณฑ์ ฯลฯ ที่ต้องซ่อมแซม

2. ทำบันทึกแจ้งมหาวิทยาลัยเพื่อมอบหน่วยงานที่ดูแลด้านการซ่อมแซมห้องเรียน ห้องน้ำ ครุภัณฑ์ ฯลฯ ให้ได้ใช้งานทันก่อนการเปิดภาคเรียน

3. ฝ่ายอาคารเข้าซ่อมแซ่ม ห้องเรียน ห้องน้ำ สามารถใช้งานได้ แต่เนื่องจากอยู่ในช่วงฤดูฝน ทำให้น้ำซึมและขังอยู่ในห้องเรียนบางห้อง

4. ทำบันทึกแจ้งมหาวิทยาลัย เพื่อดำเนินการซ่อมแซ่มส่วนที่เหลือ โดยเฉพาะฝ้า เพดาน ที่ยังมีน้ำฝนซึมเข้ามาทุกครั้งที่มีฝนตกหนัก

 

5.5 มีการประชุมคณะกรรมการประจำสำนักส่งเสริมและบริการวิชการ ครั้งที่ 1/2565 วันที่ 8 มิถุนายน 2565 (1.4-5(12)) เพื่อพิจารณา รายงานผลการดำเนินงานการบริหารความเสี่ยง สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2565 (1.4-5(13)) ดังนี้

ความเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง

(ก่อนฯ)

การประเมินความเสี่ยง

(หลังฯ)

การ

บรรลุ

เป้า

หมาย

โอกาส

ผล

กระทบ

ระดับความเสี่ยง

โอกาส

ผล

กระทบ

ระดับความเสี่ยง

R1 - อัตราการเกิดของประชากรมีแนวโน้มลดลง ประกอบกับค่านิยมของผู้เรียนยังคงเลือกเรียนมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง

ภายใน

- การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยเพื่อดึงดูดผู้เรียน ยังมีน้อย

- หน่วยงานยังติดรูปแบบสื่อประชาสัมพันธ์แบบราชการ ไม่ให้ความสำคัญกับการทำรูปแบบที่ทันสมัยเพื่อดึงดูดกลุ่มวัยรุ่นที่จะเข้ามาศึกษา

- บุคลากรภายในขาดการศึกษาข้อมูลก่อนเผยแพร่ข่าวสาร และไม่ใช้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข่าวสารที่ดีของมหาวิทยาลัย โดยเน้นพาดหัวข่าวที่ตนเองสนใจแล้วเผยแพร่ในทันที ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์องค์กร และลดความน่าเชื่อถือของบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย

ภายนอก

- ขาดงบประมาณในการพัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ ที่จะเป็นสถานที่ดึงดูดให้บุคคลภายนอกเข้ามาใช้บริการหรือให้ความสนใจเข้ามาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย

5

5

25

5

5

25

ไม่บรรลุ

R2 - บุคลากรยังขาดความเข้าใจเรื่องการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายใน

- ขาดการทบทวนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่สอดคล้องและทันสมัยในสถานการณ์ปัจจุบัน

- ขาดระบบและกลไกการดำเนินงานในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

ภายนอก

- ระเบียบและข้อบังคับบางอย่างยังไม่ประกาศใช้หรือบังคับให้มีผล

5

3

15

2

3

6

บรรลุ

R4 - พื้นที่ใช้งาน อาคาร ห้องน้ำ ห้องเรียน และครุภัณฑ์การเรียนการสอน ชำรุดเสียหายไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ

ภายใน

- อาคารมีอายุการใช้งานมาเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดความชำรุดเสียหายของฝ้า เพดาน หลังคา ห้องน้ำฯลฯ

5

5

25

2

3

6

บรรลุ

 

กรรมการได้ให้ข้อเสนอแนะสำหรับการบริหารความเสี่ยงในรอบปีถัดไป เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินงานตามปกติ อย่างต่อเนื่องของสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ  ดังนี้

1) เห็นควรให้มีการศึกษาสาเหตุของการไม่มาเรียน โดยให้ระบุสาเหตุการลาออกของนักศึกษา ชั้นปีที่ 1 เช่น สอบได้ที่อื่น ติดตามผู้ปกครองไปต่างจังหวัด หรือได้งานทำ

2) ควรศึกษาความสนใจของนักเรียน นักศึกษา หรือบุคคลทั่วไป ต่อการเรียนล่วงหน้า เรียนสะสมหน่วยกิต หรือเพิ่มพูนทักษะ ตามนโยบายการเรียนรู้ตลอดชีวิต เช่น การทำหลักสูตรระยะสั้น การทำ MOU กับโรงเรียนในเครือข่ายเพื่อรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เข้าโครงการเรียนล่วงหน้า

6มีการนําผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากหน่วยงานตนเองและหน่วยตรวจสอบภายในไปใช้ในการ ปรับแผนหรือวิเคราะห์ความเสี่ยงในรอบปีถัดไป และให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของการดําเนินงาน ตามปกติอย่างต่อเนื่อง

6. สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มีการนําผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากหน่วยงานตนเองและหน่วยตรวจสอบภายในไปใช้ในการ ปรับแผนหรือวิเคราะห์ความเสี่ยงในรอบปีถัดไปฯ ดังนี้

6.1 มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีงบประมาณ 2565 (1.4-6(1)) เสนอต่อคณะกรรมการบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 5/2565 วันที่ 8 มิถุนายน 2565 (1.4-6(2)) และคณะกรรมการประจำสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 1/2565 วันที่ 8 มิถุนายน 2565 (1.4-6(3)) รับทราบและพิจารณาให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนา โดยมีข้อเสนอแนะ จำนวน 2 เรื่อง หลังจากนั้นหน่วยงานได้นำข้อเสนอแนะดังกล่าวมาจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ กำหนดแนวทางการปรับปรุงพัฒนา ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินงาน และผู้รับผิดชอบ อย่างชัดเจน โดยมีรายละเอียดดังนี้

ข้อเสนอแนะ

แนวทางการปรับปรุง

ระยะเวลาดำเนินการ

ผู้รับผิดชอบ

1. ควรมีการศึกษาสาเหตุของการไม่มาเรียน โดยให้ระบุสาเหตุการลาออกของนักศึกษา ชั้นปีที่ 1 เช่น สอบได้ที่อื่น ติดตามผู้ปกครองไปต่างจังหวัด หรือได้งานทำ

1. การปรับปรุง:

( ) ปรับปรุงกระบวนการ

( ) ปรับปรุงโครงการ

( / ) ปรับปรุงแผน

2. การดำเนินงาน :

( ) ดำเนินการแล้ว

( / ) อยู่ระหว่างดำเนินการ : จัดเก็บและรวบรวมข้อมูลเพื่อสรุปรายงาน นักศึกษาที่ยื่นคำร้องลาออกของนักศึกษา ชั้นปีที่ 1

( ) ยังไม่ดำเนินการ

ปีการศึกษา 2565

งานทะเบียนและประมวลผล

2. ควรศึกษาความสนใจของนักเรียน นักศึกษา หรือบุคคลทั่วไป ต่อการเรียนล่วงหน้า เรียนสะสมหน่วยกิต หรือเพิ่มพูนทักษะ ตามนโยบายการเรียนรู้ตลอดชีวิต เช่น การทำหลักสูตรระยะสั้น การทำ MOU กับโรงเรียนในเครือข่ายเพื่อรับนักศึกษาเรียนล่วงหน้า

1. การปรับปรุง:

( ) ปรับปรุงกระบวนการ

( ) ปรับปรุงโครงการ

( / ) ปรับปรุงแผน

2. การดำเนินงาน :

( ) ดำเนินการแล้ว

( / ) อยู่ระหว่างดำเนินการ : ได้มีการสำรวจไปยังคณะทุกคณะ ที่ต้องการเปิดหลักสูตรระยะสั้น หรือทำ MOU กับโรงเรียน เพื่อรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เข้าร่วมโครงการเรียนล่วงหน้าในสาขาวิชาที่พร้อม

( ) ยังไม่ดำเนินการ

ปีการศึกษา 2565

งานทะเบียนและประมวลผล

 

6.2 มีการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ครั้งที่ 6/2565 วันที่ 19 กรกฎาคม 2565 (1.4-6(5)) เพื่อหารือผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง  ประจำปีงบประมาณ 2565 และนำข้อเสนอแนะปรับแผนหรือวิเคราะห์ความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ 2566 ดังนี้

ยุทธศาสตร์

ความเสี่ยง

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับคุณภาพการให้บริการและสนับสนุนการจัดเรียนการสอน

1. การรับนักศึกษาในแต่ละสาขาไม่เป็นไปตามเป้าหมายตามแผนการรับนักศึกษา

2. ขาดหลักสูตรในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต

3. นักศึกษามีโอกาสไม่สำเร็จการศึกษาจากการสอบภาษาอังกฤษไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด

4. นักศึกษาขาดความรู้ความเข้าใจในระเบียบ ข้อบังคับของมหาวิทยาลัย

5. การกำกับดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาไม่ทั่วถึง

6. ขาดความร่วมมือของนักศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริการวิชาการและน้อมนำแนวพระราชดำริ ที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาของสังคมท้องถิ่น

1. ไม่มีการกระตุ้นบริการวิชาการ

2. การจัดเก็บรายได้จากการบริการวิชาการยังไม่มี

3. ขาดฐานข้อมูลในการบริการวิชาการ

4. ขาดความพร้อมในการดำเนินงาน

5. บุคลากรด้านการให้บริการวิชาการ มีน้อย

6. บุคลากรมีภาระงานมาก ขาดความรู้เรื่องการเบิกจ่าย

ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาองค์การอย่างยั่งยืน

1. การติดต่อสื่อสารในองค์กร ขาดประสิทธิภาพ

2. การเงิน งบประมาณ ไม่เพียงพ่อต่อการบริหารจัดการ

3. ระบบสารสนเทศขาดการเชื่อมโยง

4. เกิดความผิดพลาดจากการดำเนินงาน

5. ภาระงานอื่น ๆ มีจำนวนมาก

6. ขาดการกำกับติดตาม ดูแล ครุภัณ์ วัสดุสำนักงาน

7. ขาดความเข้าใจระเบียบว่าด้วยการจัดซื้อ จัดจ้าง

8. ขาดการพัฒนาเว็บไซต์

 

ผลคะแนนการประเมินตนเอง
ทำได้ (ข้อ) ได้คะแนน
6 5