ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน

ปีที่ประเมิน 2564
ผู้ดูแลตัวบ่งชี้ : รัชฎาภรณ์ พรมทอน เบ้าทอง , เทวา ขันติวงษ์ , สิทธิชัย บวชไธสง , กัลยกฤต ปีมา , ชยานันท์ แก้วเกิด
ชนิดตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
คำอธิบายตัวบ่งชี้

          การพัฒนาเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนเป็นการบริการวิชาการเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนท้องถิ่นตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการศึกษา รวมถึงด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 ข้อ มีการดำเนินการ 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ
หมายเหตุ

1. ต่อเนื่อง หมายถึง การดำเนินงานตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป
2. ยั่งยืน หมายถึง การดำเนินงานตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป
3. เข้มแข็ง หมายถึง สามารถพึ่งตนเองได้

เกณฑ์มาตรฐาน
ระดับ เกณฑ์มาตรฐาน ดำเนินการ
1 ทุกคณะมีส่วนร่วมกับมหาวิทยาลัยและชุมชนในการกำหนดพื้นที่เป้าหมายในการพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับบริบท ปัญหา และความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคม ตามจุดเน้น จุดเด่นของมหาวิทยาลัยตามศาสตร์พระราชา หรือตามแนวพระราชดำริ
2 มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA โดยร่วมมือกับหน่วยงานภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัย
3 ชุมชนหรือองค์กรมีผู้นำหรือสมาชิกที่มีการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
4 ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเอง โดยคงอัตลักษณ์ของคนในชุมชนและเอกลักษณ์ของท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืน
5 มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคม หรือชุมชน/องค์กรอย่างเข้มแข็ง
6 เกิดชุมชนต้นแบบด้านการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ที่มีคณะและมหาวิทยาลัย เป็นผู้รับผิดชอบร่วมในการพัฒนาอย่างน้อย 1 ชุมชน
ผลการดำเนินงาน
ตนข้อเกณฑ์ผลการดำเนินงานหลักฐาน
1ทุกคณะมีส่วนร่วมกับมหาวิทยาลัยและชุมชนในการกำหนดพื้นที่เป้าหมายในการพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับบริบท ปัญหา และความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคม ตามจุดเน้น จุดเด่นของมหาวิทยาลัยตามศาสตร์พระราชา หรือตามแนวพระราชดำริ

1. มีผู้แทนจากทุกคณะ/สำนัก ร่วมเป็นคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ระดับสถาบัน

ทุกคณะ/สำนัก/สถาบัน มีส่วนรวมในกำหนดพื้นที่เป้าหมายและขันเคลื่อนการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ โดยมีตัวแทนของหน่วยงานร่วมเป็นคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้งขึ้น จากผู้แทนคณะ สำนัก และสถาบัน ประกอบด้วย รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการเป็นที่ปรึกษา ,ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการเป็นประธาน,รองหรือผู้ช่วยคณบดี  รองหรือผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนัก/สถาบัน และบุคลากรจากหน่วยงานที่ปฏิบัติงานด้านบริการวิชาการ ได้แก่ กองนโยบายและแผน งานบริการวิชาการ งานพัสดุ งานคลัง และงานประกันคุณภาพการศึกษา เป็นกรรมการ ทำหน้าที่และมีภารกิจสนองนโยบายของมหาวิทยาลัย และ คณะกรรมการบริหารงานด้านบริการวิชาการ โดยมีงานบริการวิชาการ สังกัดสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ เป็นเลขานุการ และเป็นหน่วยงานกลางร่วมกับคณะกรรมการจัดเก็บข้อมูลด้านบริการวิชาการ ซึ่งประกอบด้วยบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดคณะ/สำนัก ทำหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลการดำเนินงานระดับสถาบัน (2.1-1(1))

2. ทุกคณะ/สำนัก มีส่วนร่วมในการกำหนดพื้นที่เป้าหมาย ระดับสถาบัน

โดย คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ในการประชุมครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2564 ร่วมพิจารณากำหนดพื้นที่เป้าหมาย เพื่อมุ่งสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัย (2-1-1(2) เสนอคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เห็นชอบในการประชุม ครั้งที่ 11 / 2565 เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2564 และมีประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เรื่อง พื้นที่เป้าหมายและชุมชนเป้าหมายของการให้บริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (2.1-1(3) โดยให้ทุกคณะ สำนัก มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนสู่ความยั่งยืน ตามความถนัดและความเชี่ยวชาญของคณะและสำนัก โดยบูรณาการการเรียนการสอน และการวิจัย การประยุกต์ตามโจทย์ที่ชุมชนและท้องถิ่นต้องการ ตอบสนองแนวนโยบายของชาติ “หนึ่งจังหวัดหนึ่งมหาวิทยาลัย” เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ภาคเอกชน และภาครัฐโดยการบริการวิชาการหลากหลายรูปแบบที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม เชื่อมโยงสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนและพื้นที่ ครอบคลุ่ม 4 มิติ คือ มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม และมิติด้านการศึกษา ให้เกิดความยั่งยืน มีจำนวน 10 พื้นที่ ดังนี้

 

ลำดับที่

ชุมชน

การดำเนินงานที่ผ่านมา

เป้าหมายมุ่งสู่ชุมชนต้นแบบในปีงบประมาณ 2565

1.

บ้านหัวนา

มากกว่า 5 ปี

2565

2.

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

มากกว่า 5

2565

3.

บ้านสันติสุข(หมู่บ้านทับทิมสยาม 07)

4 ปี

2566

4.

บ้านรงระ

2 ปี

2566

5.

ตำบลผักไหม

มากกว่า 5

2566

6.

บ้านหนองสรวง

3 ปี

2567

7.

โรงเรียนบ้านประทาย

มากกว่า 5

2567

8.

ตำบลบึงบูรพ์

3 ปี

2568

9.

ตำบลเมืองใต้

1 ปี

2568

10.

โรงเรียนบ้านนาขนวน

มากกว่า 5

2568

ซึ่งปีงบประมาณ 2565 มหาวิทยาลัยมีเป้าหมายมุ่งพัฒนาสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัยอย่างน้อย 2 พื้นที่ คือ ชุมชนบ้านหัวนา อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ และ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

3. ทุกคณะ/สำนัก ลงพื้นที่สำรวจปัญหาและความต้องการของชุมชน และกำหนดเป้าหมายการดำเนินงานร่วมกับมหาวิทยาลัย

ทั้งนี้ คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ร่วมวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่ และกำหนดแบบฟอร์มสำรวจความต้องการชุมชน (2-1-1(5) และทุกคณะ/สำนัก นำไปใช้สำรวจความต้องการของพื้นที่ชุมชนเป้าหมายและพื้นบริการวิชาการ โดยลงพื้นที่สำรวจปัญหา และความต้องการของชุมชน หรือสังคม ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย และแนวทางการพัฒนาให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของชุมชน โดยการสัมภาษณ์ สอบถาม ข้อมูลเชิงลึก จากผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น และชาวบ้าน เพื่อร่วมออกแบบแนวทางในการพัฒนาชุมชน ในพื้นที่บริการวิชาการระดับคณะ สำนัก และ สถาบัน ในพื้นที่เป้าหมายระดับสถาบัน ปีงบประมาณ 2565 จำนวน 2 พื้นที่ คือ 1) ชุมชนบ้านหัวนา อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ และ 2) โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ คณะกรรมการดำเนินงานได้ร่วมวิเคราะห์รายงานการสำรวจความต้องการชุมชน ดังนี้

ลำดับ

ปัญหา

ความต้องการ

  1. ชุมชนบ้านหัวนา อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

มหาวิทยาลัยลงพื้นที่สำรวจความต้องการชุมชน โดยใช้กรอบในการสำรวจตามแบบฟอร์มสำรวจความต้องการชุมชน ที่ออกโดยคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ โดยมีคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ และสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ เป็นหลักและร่วมกับผู้แทนจากคณะ/สำนักในชุดคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการร่วมวิเคราะห์ สรุปปัญหา และความต้องการของชุมชน ร่วมกับ ผู้นำชุมชน / ผู้แทนกลุ่มอาชีพ และชาวบ้านหัวนา อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ ได้สรุปปัญหาและความต้องชุมชน ดังนี้

1.

รายได้ต่ำ และปลาร้าที่ขายเป็นภูมิปัญญา ยังไม่มีระบบการผลิตที่ชัดเจน และต้องการองค์ความรู้เพื่อสร้างอาชีพใหม่

1. ระบบการผลิตปลาร้าที่มีมาตรฐานเดียวกัน

2. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่

  1. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

มหาวิทยาลัยลงพื้นที่สำรวจความต้องการชุมชน โดยใช้กรอบในการสำรวจตามแบบฟอร์มสำรวจความต้องการชุมชน ที่ออกโดยคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ โดยมีคณะครุศาสตร์ เป็นหลักและร่วมกับผู้แทนจากคณะ/สำนักในชุดคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการร่วมวิเคราะห์ สรุปปัญหา และความต้องการของชุมชน ร่วมกับ ผู้นำชุมชน / ผู้แทนกลุ่มอาชีพ และ ผู้บริหาร ครู และผู้แทนนักเรียน ได้สรุปปัญหาและความต้องชุมชน ดังนี้

1.

โรงเรียนมีต้นไม้นานาชนิด แต่ขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับชนิดพื้นและการการอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า

สำรวจพรรณพืชในโรงเรียน ทำสวนพฤกษศาสตร์ เพื่อ อนุรักษ์ ศึกษา วิจัยทางวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะทางด้านพฤกษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ว่าด้วยพืช และเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพืชสำหรับการศึกษาของนักวิจัย นักเรียน นักศึกษา หรือตอบสนองต่อการเป็นแหล่งท่องเที่ยวและสถานพักผ่อนหย่อนใจ และเป็นแหล่งพันธุกรรมให้แก่ชุมชนในท้องถิ่น

 

2มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA โดยร่วมมือกับหน่วยงานภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัย

 

องค์ประกอบที่ 2 ตัวบ่งชี้เฉพาะระดับหน่วยงานสนับสนุน

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1          ระบบและกลไกการพัฒนาเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน

ผู้จัดเก็บข้อมูล    :  นายเทวา ขันติวงษ์ 

                        นางสาวรัชฏาภรณ์ พรมทอง เบ้าทอง

                        นางสาวธรรญกฤต  คำพิมูล

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงาน

หลักฐาน

1. ทุกคณะมีส่วนร่วมกับมหาวิทยาลัยและชุมชนในการกำหนดพื้นที่เป้าหมายในการพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับบริบท ปัญหา และความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคมตามจุดเน้น จุดเด่นของมหาวิทยาลัยตามศาสตร์พระราชา หรือตามแนวพระราชดำริ

1. มีผู้แทนจากทุกคณะ/สำนัก ร่วมเป็นคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ระดับสถาบัน

ทุกคณะ/สำนัก/สถาบัน มีส่วนรวมในกำหนดพื้นที่เป้าหมายและขันเคลื่อนการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ โดยมีตัวแทนของหน่วยงานร่วมเป็นคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้งขึ้น จากผู้แทนคณะ สำนัก และสถาบัน ประกอบด้วย รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการเป็นที่ปรึกษา ,ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการเป็นประธาน,รองหรือผู้ช่วยคณบดี  รองหรือผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนัก/สถาบัน และบุคลากรจากหน่วยงานที่ปฏิบัติงานด้านบริการวิชาการ ได้แก่ กองนโยบายและแผน งานบริการวิชาการ งานพัสดุ งานคลัง และงานประกันคุณภาพการศึกษา เป็นกรรมการ ทำหน้าที่และมีภารกิจสนองนโยบายของมหาวิทยาลัย และ คณะกรรมการบริหารงานด้านบริการวิชาการ โดยมีงานบริการวิชาการ สังกัดสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ เป็นเลขานุการ และเป็นหน่วยงานกลางร่วมกับคณะกรรมการจัดเก็บข้อมูลด้านบริการวิชาการ ซึ่งประกอบด้วยบุคลากรสายสนับสนุนสังกัดคณะ/สำนัก ทำหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลการดำเนินงานระดับสถาบัน (2.1-1(1))

2. ทุกคณะ/สำนัก มีส่วนร่วมในการกำหนดพื้นที่เป้าหมาย ระดับสถาบัน

โดย คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ในการประชุมครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2564 ร่วมพิจารณากำหนดพื้นที่เป้าหมาย เพื่อมุ่งสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัย (2-1-1(2) เสนอคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เห็นชอบในการประชุม ครั้งที่ 11 / 2565 เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2564 และมีประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เรื่อง พื้นที่เป้าหมายและชุมชนเป้าหมายของการให้บริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (2.1-1(3) โดยให้ทุกคณะ สำนัก มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนสู่ความยั่งยืน ตามความถนัดและความเชี่ยวชาญของคณะและสำนัก โดยบูรณาการการเรียนการสอน และการวิจัย การประยุกต์ตามโจทย์ที่ชุมชนและท้องถิ่นต้องการ ตอบสนองแนวนโยบายของชาติ “หนึ่งจังหวัดหนึ่งมหาวิทยาลัย” เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ภาคเอกชน และภาครัฐโดยการบริการวิชาการหลากหลายรูปแบบที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม เชื่อมโยงสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนและพื้นที่ ครอบคลุ่ม 4 มิติ คือ มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม และมิติด้านการศึกษา ให้เกิดความยั่งยืน มีจำนวน 10 พื้นที่ ดังนี้

 

ลำดับที่

ชุมชน

การดำเนินงานที่ผ่านมา

เป้าหมายมุ่งสู่ชุมชนต้นแบบในปีงบประมาณ 2565

1.

บ้านหัวนา

มากกว่า 5 ปี

2565

2.

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

มากกว่า 5

2565

3.

บ้านสันติสุข(หมู่บ้านทับทิมสยาม 07)

4 ปี

2566

4.

บ้านรงระ

2 ปี

2566

5.

ตำบลผักไหม

มากกว่า 5

2566

6.

บ้านหนองสรวง

3 ปี

2567

7.

โรงเรียนบ้านประทาย

มากกว่า 5

2567

8.

ตำบลบึงบูรพ์

3 ปี

2568

9.

ตำบลเมืองใต้

1 ปี

2568

10.

โรงเรียนบ้านนาขนวน

มากกว่า 5

2568

ซึ่งปีงบประมาณ 2565 มหาวิทยาลัยมีเป้าหมายมุ่งพัฒนาสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัยอย่างน้อย 2 พื้นที่ คือ ชุมชนบ้านหัวนา อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ และ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

3. ทุกคณะ/สำนัก ลงพื้นที่สำรวจปัญหาและความต้องการของชุมชน และกำหนดเป้าหมายการดำเนินงานร่วมกับมหาวิทยาลัย

ทั้งนี้ คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ร่วมวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่ และกำหนดแบบฟอร์มสำรวจความต้องการชุมชน (2-1-1(5) และทุกคณะ/สำนัก นำไปใช้สำรวจความต้องการของพื้นที่ชุมชนเป้าหมายและพื้นบริการวิชาการ โดยลงพื้นที่สำรวจปัญหา และความต้องการของชุมชน หรือสังคม ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย และแนวทางการพัฒนาให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของชุมชน โดยการสัมภาษณ์ สอบถาม ข้อมูลเชิงลึก จากผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น และชาวบ้าน เพื่อร่วมออกแบบแนวทางในการพัฒนาชุมชน ในพื้นที่บริการวิชาการระดับคณะ สำนัก และ สถาบัน ในพื้นที่เป้าหมายระดับสถาบัน ปีงบประมาณ 2565 จำนวน 2 พื้นที่ คือ 1) ชุมชนบ้านหัวนา อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ และ 2) โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ คณะกรรมการดำเนินงานได้ร่วมวิเคราะห์รายงานการสำรวจความต้องการชุมชน ดังนี้

ลำดับ

ปัญหา

ความต้องการ

  1. ชุมชนบ้านหัวนา อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

มหาวิทยาลัยลงพื้นที่สำรวจความต้องการชุมชน โดยใช้กรอบในการสำรวจตามแบบฟอร์มสำรวจความต้องการชุมชน ที่ออกโดยคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ โดยมีคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ และสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ เป็นหลักและร่วมกับผู้แทนจากคณะ/สำนักในชุดคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการร่วมวิเคราะห์ สรุปปัญหา และความต้องการของชุมชน ร่วมกับ ผู้นำชุมชน / ผู้แทนกลุ่มอาชีพ และชาวบ้านหัวนา อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ ได้สรุปปัญหาและความต้องชุมชน ดังนี้

1.

รายได้ต่ำ และปลาร้าที่ขายเป็นภูมิปัญญา ยังไม่มีระบบการผลิตที่ชัดเจน และต้องการองค์ความรู้เพื่อสร้างอาชีพใหม่

1. ระบบการผลิตปลาร้าที่มีมาตรฐานเดียวกัน

2. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่

  1. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

มหาวิทยาลัยลงพื้นที่สำรวจความต้องการชุมชน โดยใช้กรอบในการสำรวจตามแบบฟอร์มสำรวจความต้องการชุมชน ที่ออกโดยคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ โดยมีคณะครุศาสตร์ เป็นหลักและร่วมกับผู้แทนจากคณะ/สำนักในชุดคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการร่วมวิเคราะห์ สรุปปัญหา และความต้องการของชุมชน ร่วมกับ ผู้นำชุมชน / ผู้แทนกลุ่มอาชีพ และ ผู้บริหาร ครู และผู้แทนนักเรียน ได้สรุปปัญหาและความต้องชุมชน ดังนี้

1.

โรงเรียนมีต้นไม้นานาชนิด แต่ขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับชนิดพื้นและการการอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า

สำรวจพรรณพืชในโรงเรียน ทำสวนพฤกษศาสตร์ เพื่อ อนุรักษ์ ศึกษา วิจัยทางวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะทางด้านพฤกษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ว่าด้วยพืช และเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพืชสำหรับการศึกษาของนักวิจัย นักเรียน นักศึกษา หรือตอบสนองต่อการเป็นแหล่งท่องเที่ยวและสถานพักผ่อนหย่อนใจ และเป็นแหล่งพันธุกรรมให้แก่ชุมชนในท้องถิ่น

 

2.1-1(1)  คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตามพันธกิจด้านการบริการวิชาการแก่สังคม

- คณะกรรมการบริหารงาน            ด้านบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

- คณะกรรมการดำเนินงาน            ด้านบริการวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

- คณะกรรมการจัดเก็บข้อมูลด้านบริการวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

2.1-1(2) รายงานการประชุมคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2564

- วาระที่ 5.2 การกำหนดพื้นที่บริการวิชาการแก่สังคม ระดับสถาบัน ประปีการศึกษา 2564

2.1-1(3) ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เรื่อง  พื้นที่เป้าหมายและชุมชนเป้าหมายของการให้บริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

2.1-1(4) แผนกลยุทธ์การบริการวิชาการ ระยะ 5  ปี (พ.ศ.2561 - 2565) ฉบับทบทวนปี พ.ศ. 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

2.1-1(5) แบบฟอร์มสำรวจความต้องการชุมชน

     2. มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA โดยร่วมมือกับหน่วยงานภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัย

                 มหาวิทยาลัย โดยคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ กำหนดแนวทาง ขั้นตอน และหลักเกณฑ์การดำเนินงานด้านบริการวิชาการตามวงจรคุณภาพ PDCA โดยร่วมมือกับหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งดำเนินงานตามนโยบายมหาวิทยาลัย และ แผนกลยุทธ์การบริการวิชาการ ระยะ 5  ปี (พ.ศ.2561 - 2565)มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ฉบับทบทวนปี พ.ศ. 2565 (2-1-2(1) โดยวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน 2.1-2 (1) นำมากำหนดกิจกรรมตามแผนบริการวิชาการแก่สังคม โดยคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ได้มีการประชุมครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2565 ทบทวนผลการดำเนินงานแผนกลยุทธ์การบริการวิชาการ ระยะ 5  ปี (พ.ศ.2561 - 2565) และ แผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ปีการศึกษา 2563 – 2565 ทั้งนี้ ได้ร่วมคิดและปรับปรุงแผนโดยรวมแผนกลยุทธ์การบริการวิชาการ ระยะ 5  ปี (พ.ศ.2561 - 2565) และ แผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ปีการศึกษา 2563 – 2565 ไว้ในเล่มเดียวกัน แต่แยกบทให้ชัดเจน ใช้ชื่อแผนกลยุทธ์การบริการวิชาการ ระยะ 5  ปี (พ.ศ.2561 - 2565) มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ฉบับทบทวนปี พ.ศ. 2565 (2.1-1(4) แทน และได้มีการประชาสัมพันธ์ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เรื่อง  พื้นที่เป้าหมายและชุมชนเป้าหมายของการให้บริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และ แผนกลยุทธ์การบริการวิชาการ ระยะ 5  ปี (พ.ศ.2561 - 2565)มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ฉบับทบทวนปี พ.ศ. 2565 ทางเว็บไซต์งานบริการวิชาการ http://academic.sskru.ac.th/ (2.1-1(7) เพื่อให้ทุกคณะ สำนัก สถาบัน และหน่วยงาน ยึดถือเป็นหลักปฏิบัติเพื่อให้บรรลุถึงการเป็นมหาวิทยาลัยรับใช้สังคม ตามขั้นตอน PDCA ดังนี้

 

ลำดับ

การดำเนินงาน/กิจกรรม

ตัวชี้วัด

การดำเนินงาน/กิจกรรม

ค่าเป้าหมาย

ประเภทโครงการ

การใช้ประโยชน์

ตัวชี้วัด
ความสำเร็จ

ผู้รับผิดชอบ

ผู้กำกับ

สร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน

เชื่อมโยงสู่โรงเรียน

ก่อให้เกิดรายได้

การเรียนการสอน

การวิจัย

การพัฒนานักศึกษา

การพัฒนาชุมชน/สังคม

บูรณาการกับการเรียนการสอน

บูรณาการกับการวิจัย

ร้อยละการนำไปใช้ประโยชน์

1.

ขั้นตอนการวางแผน (Plan)

1.1

แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ

 

 

 

 

มีคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการมหาวิทยาลัย         ราชภัฏศรีสะเกษ

 

 

1 ชุด

 

 

 

 

 

 

 

คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ /งานบริการวิชาการ

 

 

รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ /คณะการบริหารงานด้านบริการวิชาการ

การดำเนินงาน ทุกคณะ สำนัก สถาบัน มีส่วนร่วม โดยมหาวิทยาลัยแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ 2.1-2(4) ประกอบด้วย รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการเป็นที่ปรึกษา ,ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการเป็นประธาน,รองหรือผู้ช่วยคณบดี  รองหรือผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนัก/สถาบัน และบุคลากรจากหน่วยงานที่ปฏิบัติงานด้านบริการวิชาการได้แก่ กองนโยบายและแผน งานบริการวิชาการ งานพัสดุ งานคลัง และงานประกันคุณภาพการศึกษา เป็นกรรมการ ทำหน้าที่และมีภารกิจสนองนโยบายของมหาวิทยาลัย และ คณะกรรมการบริหารงานด้านบริการวิชาการ โดยมีงานบริการวิชาการ สังกัดสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ เป็นเลขานุการ และเป็นหน่วยงานกลางร่วมกับคณะกรรมการจัดเก็บข้อมูลด้านบริการวิชาการทำหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลการดำเนินงานระดับสถาบัน

1.2

วิเคราะห์กำหนดนโยบาย แนวทาง ระบบ กลไก วิธีการ

มีการกำหนดนโยบาย แนวทาง ระบบ กลไก

วิธีการการบริการวิชาการ

มีระบบ กลไก

วิธีการการบริการวิชาการ

 

คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ /งานบริการวิชาการ

 

               

รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ /คณะการบริหารงานด้านบริการวิชาการ

การดำเนินงาน

  1. กำหนดนโยบายโดยคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษในการประชุมครั้งที่ 10 /2564 เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2564 ได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารงานด้านบริการวิชาการ และคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านบริการวิชาการระดับสถาบันและได้มีการปรับปรุงคำสั่งให้เป็นปัจจุบันในวันที่ 19 เมษายน 2565 โดยมหาวิทยาลัยออกคำสั่ง จำนวน 3  ฉบับ  2.1-2(4) คือ

           1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารงานด้านบริการวิชาการ

           1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้งขึ้น จากผู้แทนคณะ สำนัก และสถาบัน ประกอบด้วย รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการเป็นที่ปรึกษา ,ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการเป็นประธาน,รองหรือผู้ช่วยคณบดี  รองหรือผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนัก/สถาบัน และบุคลากรจากหน่วยงานที่ปฏิบัติงานด้านบริการวิชาการได้แก่ กองนโยบายและแผน งานบริการวิชาการ งานพัสดุ งานคลัง และงานประกันคุณภาพการศึกษา เป็นกรรมการ ทำหน้าที่และมีภารกิจสนองนโยบายของมหาวิทยาลัย และ

            1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารงานด้านบริการวิชาการ โดยมีงานบริการวิชาการ สังกัดสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ เป็นเลขานุการ และเป็นหน่วยงานกลางร่วมกับคณะกรรมการจัดเก็บข้อมูลด้านบริการวิชาการทำหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลการดำเนินงานระดับสถาบัน

2. กำหนดแนวทางการดำเนินงาน โดยมหาวิทยาลัยกำหนดระบบและกลไก หลักเกณฑ์และขั้นตอนการบริการทางวิชาการอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็น แนวทางในการดำเนินการด้านการบริการวิชาการแก่สังคม สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยฯ เพื่อการบริการวิชาการอย่างมีคุณภาพและตรงต่อความต้องการแก่ชุมชน และท้องถิ่น ตลอดจนการสร้างชุมชนที่มีความเข้มแข็ง นำไปสู่การแก้ปัญหาของชุมชนอย่างยั่งยืน จึงมีการกำหนดกลไกการดำเนินงาน ดังนี้

1.   มหาวิทยาลัยทบทวนคำสั่งและแต่งตั้งคณะกรรมการด้านการบริการวิชาการ ระดับสถาบัน

2.   คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการจัดประชุมเพื่อทบทวนพื้นที่และผลการดำเนินงานบริการวิชาการแก่สังคมในปีที่ผ่านมาของแต่ละคณะ/สำนักเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ออกประกาศพื้นที่บริการวิชาการระดับสถาบัน

3.   คณะกรรมการพันธกิจด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ร่วมกันกำหนดพื้นที่บริการวิชาการของแต่คณะ/สำนัก โดยมีเกณฑ์การเลือกพื้นที่ ได้แก่ 1) เลือกจากพื้นที่บริการวิชาการที่คณะ/สำนักดำเนินการต่อเนื่อง (3 ปีขึ้นไป)  2) กำหนดพื้นที่ใหม่ โดยมีการเกณฑ์การเลือกพื้นที่ ได้แก่ (1) ทำบันทึกข้อตกลงร่วมกัน (MOU) (2) มีแหล่งงบประมาณ และ (3) พื้นที่มีความเข้มแข็ง วิถีชีวิตที่โดดเด่น และโอกาสในการพัฒนา

4.   ผู้รับผิดชอบงานบริการวิชาการแก่สังคมของคณะ/สำนักลงพื้นที่บริการวิชาการเพื่อสำรวจความต้องการของชุมชน ข้อมูลพื้นฐาน ศักยภาพชุมชน พร้อมทั้งระบุปัญหาหรือการพัฒนาของชุมชน มีการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา แล้วออกแบบการแก้ไขร่วมกันภายในคณะ/สำนักและภาคีเครือข่ายภายนอกมหาวิทยาลัย หลังจากนั้นจึงจัดทำโครงการที่มีการบูรณาการกับการเรียนการสอนหรือการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหา

5.   คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการจัดประชุมเพื่อพิจารณาโครงการบริการวิชาการแก่สังคมตามเกณฑ์ คือมีกลุ่มเป้าหมายชัดเจน รวมทั้งวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด ที่สามารถวัดผลความสำเร็จในระดับผลลัพธ์ได้ โดยแบ่งเป็น ระดับสถาบัน ได้แก่ (1) งบประมาณตามแผนปฏิบัติการของคณะ/สำนัก (2) งบประมาณโครงการยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น/วิจัย และ(3) โครงการที่มีการบูรณาการการเรียนการสอนหรือการวิจัย 

6.   ผู้รับผิดชอบงานบริการวิชาการแก่สังคมของคณะ/สำนักลงพื้นที่บริการวิชาการแก่สังคมตามแผนงาน และมีการรายงานความก้าวหน้าในที่ประชุมคณะกรรมการพันธกิจด้านการบริการวิชาการแก่สังคม และคณะอนุกรรมการบริการวิชาการแก่สังคม ทุกไตรมาส

7.   คณะอนุกรรมการบริการวิชาการแก่งสังคม จัดประชุมประเมินระบบและกลไก และความสำเร็จของโครงการบริการวิชาการแก่สังคมของคณะ/สำนัก เพื่อนำผลการการประเมินเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการตามพันธกิจด้านการบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อนำไปพัฒนาและปรับปรุงในปีต่อไป

 

3. กำหนดปฏิทินการดำเนินงาน โดยคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ในการประชุม ครั้งที่ 1 / 2565 เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2565 (2.1-2(5) ร่วมพิจารณาแนวทางการดำเนินงานโดยกำหนดปฏิทินการดำเนินงานประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2564 และการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก (พ.ศ. 2564-2565) ดังนี้

 

วัน/เดือน/ปี

กิจกรรม

การดำเนินงาน

18 พ.ย.2564

ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2564 ครั้งที่ 1

 

  • ทบทวนผลการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2563 และพิจารณาแผนพัฒนาคุณภาพ (Quality improvement Plan) ด้านบริการวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2564
  • การกำหนดพื้นที่บริการวิชาการแก่สังคม ระดับสถาบัน ประปีการศึกษา 2564
  • ทบทวนแผนกลยุทธด้านบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
  • ปีการศึกษา 2561 – 2565 ฉบับทบทวน 2563
  • ทบทวนแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
  • ปีการศึกษา 2563 – 2565
  • -ร่าง- แผนบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปีการศึกษา 2564
  • -ร่าง- ปฏิทินการดำเนินงานประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในปีการศึกษา 2564 และการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก (พ.ศ. 2564 - 2565)
  • การสำรวจความต้องการพื้นที่ชุมชนเป้าหมาย

17 ธันวาคม 2564

ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2564 ครั้งที่ 2

 

 -    ให้นโยบายและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน

10 พฤษภาคม 2565

ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2565 ครั้งที่ 1

- เพื่อชี้แจงแนวปฏิบัติการประเมินคุณภาพภายในปีการศึกษา 2564 และการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก (พ.ศ. 2564 – 2565

- ติดตามการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ ไตรมาส 1 - 2

 

  1. – 22 มิถุนายน 2565

โครงการติดตามตรวจเยี่ยมการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ

- ติดตามการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ ไตรมาส 3

 

18 กรกฎาคม 2565

ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2565 ครั้งที่ 2

- ติดตามผลการดำเนินงานรายโครงการ ไตรมาส ไตรมาส 4

- จัดทำ -ร่าง- รายงานการประเมินตนเอง (SAR) องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

27 กรกฎาคม 2565

วิพากษ์รายงานการประเมินตนเอง (SAR) องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

วิพากษ์รายงานการประเมินตนเอง (SAR) องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

สิงหาคม 2565

รับการประเมินตนเอง (SAR) องค์ประกอบที่ 3              การบริการวิชาการ

รับการประเมินตนเอง (SAR) องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

 

1.3

วิเคราะห์จัดทำแผนและดำเนินการการบริการวิชาการ

มีแผนบริการวิชาการและดำเนินการการบริการวิชาการ

 

 

 

 

 

มีแผนบริการวิชาการและ
ดำเนินการการบริการวิชาการ ประจำปี

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ /งานบริการวิชาการ

 

 

รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ /คณะการบริหารงานด้านบริการวิชาการ

การดำเนินงาน มหาวิทยาลัยมีการจัดทำแผนบริการวิชาการ 1 ปี  ประจำปีการศึกษา 2564 (2.1-1(4))  แบบมีส่วนร่วมกับทุกคณะ หน่วยงาน โดยเชื่อมโยงกับเป้าหมายในการพัฒนา แผนกลยุทธ์การบริการวิชาการระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561 - 2565) ฉบับทบทวนปี พ.ศ.2565 (2.1-2(1)) และนำข้อมูลจากการสำรวจปัญหาและความต้องการของพื้นที่มาประกอบการพิจารณากำหนดพื้นที่ออกแบบกิจกรรม งบประมาณ และผู้รับผิดชอบ ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนเพื่อการส่งเสริม สนับสนุนการบูรณาการการเรียนการสอน การวิจัยกับการบริการวิชาการให้กับชุมชนและสังคม มีการจัดทำแผนการใช้ประโยชน์จาการบริการวิชาการเพื่อให้เกิดผลต่อการพัฒนาอาจารย์ นักศึกษา ชุมชน และสังคม

1.4

ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ เพื่อกำกับ ติดตามการดำเนินงาน

มีการประชุมคณะกรรมการฯ

 

 

 

 

 

มีการกำกับ ติดตาม การดำเนินงานบริการวิชาการ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ /งานบริการวิชาการ

 

 

รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ /คณะการบริหารงานด้านบริการวิชาการ

การดำเนินงาน มหาวิทยาลัยมีการติดตามการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการภายใต้โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาสท้องถิ่น จำนวน 74 โครงการ ดำเนินงานภายใต้โครงการมหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ จำนวน 10 พื้นที่(U2T)  ในการประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยทุกครั้งที่ มีการประชุม เป็นวาระสืบเนื่องในวาระที่ 3.1 และวิเคราะห์สรุปข้อมูลความก้าวหน้าโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 คือ

สถานะ      A                คือ ดำเนินการแล้วเสร็จสมบูรณ์    

สถานะ      B+              คือ ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างส่งหลักฐาน (ยืมเงิน, ล้างหนี้ยืมเงิน)     

สถานะ      B                คือ กำลังดำเนินการ (ลงพื้นที่, ประสานผู้ที่เกี่ยวข้อง-ในพื้นที่เป้าหมาย)              

และสถานะ C               คือ อนุมัติโครงการแล้วแต่ยังไม่ได้ดำเนินการ   

และติดตามการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ ในพื้นที่เป้าหมายระดับสถาบัน จำนวน 10 พื้นที่ ซึ่งมีพื้นที่เป้าหมายในปีการศึกษา 2565 จำนวน 2 พื้นที่ คือ

ลำดับที่

ชุมชน

การดำเนินงานที่ผ่านมา

เป้าหมายมุ่งสู่ชุมชนต้นแบบในปีงบประมาณ 2565

1.

บ้านหัวนา

มากกว่า 5 ปี

2565

2.

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

มากกว่า 5

2565

3.

บ้านสันติสุข(หมู่บ้านทับทิมสยาม 07)

4 ปี

2566

4.

บ้านรงระ

2 ปี

2566

5.

ตำบลผักไหม

มากกว่า 5

2566

6.

บ้านหนองสรวง

3 ปี

2567

7.

โรงเรียนบ้านประทาย

มากกว่า 5

2567

8.

ตำบลบึงบูรพ์

3 ปี

2568

9.

ตำบลเมืองใต้

1 ปี

2568

10.

โรงเรียนบ้านนาขนวน

มากกว่า 5

2568

โดยคณะกรรมการดำเนินงานด้านการบริการวิชาการวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ติดตามการดำเนินงานรายไตรมาส และ จัดโครงการติดตามตรวจเยี่ยมการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ ระหว่างวันที่ 2 – 25 กรกฎาคม 2565 โดยมีผู้แทนคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมการดำเนินงานในพื้นที่เป้าหมาย ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานต่อคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ

 

2.

ขั้นตอนการดำเนินงานตามแผน (DO)

ที่

พื้นที่

พ.ศ.

การดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1

ชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

2556

ถึง2565

การดำเนินงานประจำปีการศึกษา 2564

1. ผู้รับผิดชอบงานบริการวิชาการแก่สังคมของคณะ/สำนักลงพื้นที่บริการวิชาการเพื่อสำรวจความต้องการของชุมชน ข้อมูลพื้นฐาน ศักยภาพชุมชน พร้อมทั้งระบุปัญหาหรือการพัฒนาของชุมชน มีการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา แล้วออกแบบการแก้ไขร่วมกันภายในคณะ/สำนักและภาคีเครือข่ายภายนอกมหาวิทยาลัย หลังจากนั้นจึงจัดทำโครงการที่มีการบูรณาการกับการเรียนการสอนหรือการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหา

2. ผู้รับผิดชอบเสนอโครงการและกิจกรรม ต่อมหาวิทยาลัย

3. ผู้รับผิดชอบงานบริการวิชาการแก่สังคมของคณะ/สำนักลงพื้นที่บริการวิชาการแก่สังคมตามแผนงาน และมีการรายงานความก้าวหน้าในที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ระดับสถาบัน ดังนี้

ลำดับ

กิจกรรม/โครงการ

ผู้รับผิดชอบหลักในการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน

1

โครงการส่งเสริมสัมมาชีพชุมชนสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน พื้นที่ตำบลหนองแก้วอ.กันทรารมย์

สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ

2

โครงการส่งเสริมกลุ่มยุวเกษตรกรสร้างแหล่งอาหารเพื่อความมั่นคงทางด้านอาหารในครัวเรือนและชุมชน

สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ

3

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพวิสาหกิจชุมชน

ปลาร้าบ้านหัวนา

 

คณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์

 

   4. คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ระดับสถาบันติดตามตรวจเยี่ยมและประเมินผลการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ และนำผลการการประเมินเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานด้านการบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อนำไปพัฒนาและปรับปรุงในปีต่อไป

ทุกคณะ/สำนัก โดยมีคณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เป็นเจ้าภาพหลักในการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน

2

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

2556

ถึง

ปัจจุบัน

การดำเนินงานประจำปีการศึกษา 2564

1. ผู้รับผิดชอบงานบริการวิชาการแก่สังคมของคณะ/สำนักลงพื้นที่บริการวิชาการเพื่อสำรวจความต้องการของชุมชน ข้อมูลพื้นฐาน ศักยภาพชุมชน พร้อมทั้งระบุปัญหาหรือการพัฒนาของชุมชน มีการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา แล้วออกแบบการแก้ไขร่วมกันภายในคณะ/สำนักและภาคีเครือข่ายภายนอกมหาวิทยาลัย หลังจากนั้นจึงจัดทำโครงการที่มีการบูรณาการกับการเรียนการสอนหรือการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหา

2. ผู้รับผิดชอบเสนอโครงการและกิจกรรม ต่อมหาวิทยาลัย

3. ผู้รับผิดชอบงานบริการวิชาการแก่สังคมของคณะ/สำนักลงพื้นที่บริการวิชาการแก่สังคมตามแผนงาน และมีการรายงานความก้าวหน้าในที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ระดับสถาบัน ดังนี้

ลำดับ

กิจกรรม/โครงการ

ผู้รับผิดชอบหลักในการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน

1

นำนวัตกรรมการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ๆ และผลิตชุดการเรียนการสอน และชุดฝึกทักษะการเรียนรู้ รูปแบบการฝึกความคิดสร้างสรรค์ กระตุ้นความคิดของนักเรียน และสามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้

คณะครุศาสตร์

 

   4. คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ระดับสถาบันติดตามตรวจเยี่ยมและประเมินผลการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ และนำผลการการประเมินเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานด้านการบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อนำไปพัฒนาและปรับปรุงในปีต่อไป

ทุกคณะ/สำนัก โดยมีคณะครุศาสตร์               เป็นเจ้าภาพหลักในการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน

 

3. ขั้นตอนการตรวจสอบและประเมินผล (CHECK)

3.1

ประเมินผลการดำเนินงาน โครงการตามประเภทการให้บริการวิชาการ

 

 

 

มีผลประเมินการดำเนินโครงการ

ทุกโครงการ และผลประเมินความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ /งานบริการวิชาการ

 

 

รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ /คณะการบริหารงานด้านบริการวิชาการ

การดำเนินงาน

           มหาวิทยาลัยโดยคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ กำหนดแบบประเมินความพึงพอใจการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ และผู้รับผิดชอบนำไปประเมินความพึงใจและรายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ

3.2

ประเมินผลการดำเนินงานตามระบบ กลไก และแผนการบริการวิชาการ

 

 

มีผลการประเมินการดำเนินงานตามระบบ กลไก และแผนการบริการวิชาการ

เป็นไปตามแผน และบรรลุตัวชี้วัดระดับแผนทุกตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ /งานบริการวิชาการ

 

 

รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ /คณะการบริหารงานด้านบริการวิชาการ

คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ดำเนินโครงการติดตามตรวจเยี่ยมการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ ในพื้นที่บริการวิชาการระดับสถาบัน จำนวน 10 พื้นที่ ตามประกาศพื้นที่เป้าหมายของมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ในระหว่างวันที่ 2 – 25 กรกฎาคม 2565 และจัดทำรายงานผลการประเมินการดำเนินงานตามระบบ กลไก และแผนการบริการวิชาการ รายงานต่อคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ

4.

(Action) : การนำผลการดำเนินงานไปปรับปรุงและพัฒนา

4.1

นำผลการดำเนินงานตามแผน ผลการประเมินโครงการบริการวิชาการ ไปวิเคราะห์ปรับปรุงและพัฒนาของดำเนินงานในปีถัดไป

มีการวิเคราะห์ปรับปรุงและพัฒนาของดำเนินงานในปีถัดไป     

               

มีการวิเคราะห์ปรับปรุงและพัฒนาของดำเนินงานในปีถัดไป

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ /งานบริการวิชาการ

 

 

รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ /คณะการบริหารงานด้านบริการวิชาการ

                                                 

 คณะกรรมการบริการวิชาการได้นำผลการประเมินจากที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยและคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ มาเป็นแนวทางการพัฒนาแผนงานและโครงการบริการวิชาการแก่สังคม โดยมีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงคือ ควรดำเนินการให้บริการวิชาการแบบเชิงพื้นที่ (Area base)              ในพื้นที่เดิมอย่างน้อย 3 ปี เพื่อให้เห็นผลการดำเนินงานที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น และมีการวางแผนใช้ และ/หรือพัฒนานวัตกรรมให้กับพื้นที่ที่ได้รับการบริการวิชาการ รวมทั้งการสร้างเครือข่ายร่วมกับชุมชนเพื่อให้บริการวิชาการของคณะฯ ที่มากขึ้นต่อไปในอนาคต

2.1-2(1) สรุปข้อมูลการสำรวจสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชนเป้าหมาย

2.1-2(2) http://academic.sskru.ac.th/

2.1-2(3) แผนกลยุทธ์การบริการวิชาการ ระยะ 5  ปี (พ.ศ.2561 - 2565) ฉบับทบทวนปี พ.ศ. 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

2.1-2(4) คำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

2.1-2(5) รายงานการประชุมคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ ครั้งที่ 1 / 2565 เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2565

2.1-2(6) แผนการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัย           ราชภัฏศรีสะเกษ ระยะ 1  ปี(พ.ศ.2564

3. ชุมชนหรือองค์กรมีผู้นำหรือสมาชิกที่มีการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

             มหาลัยมีการจัดระบบพี่เลี้ยงในการขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนบริการวิชาการ โดยมีคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการซึ่งเป็นผู้แทนจากทุกคณะ/สำนัก ร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงานบริการวิชาการ ซึ่งในปี 2565 มหาวิทยาลัยมีเป้าหมายมุ่งพัฒนาสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัยอย่างน้อย 2 พื้นที่ คือ ชุมชนบ้านหัวนา อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ และ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ เกิดกลุ่มอาชีพและผู้นำทีมีการเรียนรู้และการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

ที่

พื้นที่

กิจกรรม

องค์กรหรือผู้นำชุมชนมีการเรียนรู้และการดำเนินงานกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

1

ชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

(2.3-1(1))

ผลิตและจำหน่ายปลาร้าบ้านหัวนา

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา

        

ผลิตและจำหน่ายปลาส้มวัดจำปา

กลุ่มผู้ผลิตปลาส้มวัดจำปา

ขายผ้าขิด

กลุ่มทอผ้าขิดบ้านหัวนา

ขายผ้าทอมือ

กลุ่มผ้าทอมือบ้านหัวนา

2

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

(2.3-1(2))

เพาะเห็ดเพื่อบริโภคและจำหน่าย

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนการเพราะเห็ด

คัดแยกขยะตามประเภทโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

คณะทำงานในการคัดแยกขยะตามประเภทโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

 

2.3-1(1)ผลการประเมินผลการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการพื้นที่ชุมชนบ้านหัวนา อำเภอกันทรารมย์ จังหวัด       ศรีสะเกษ (จากโครงการติดตามตรวจเยี่ยมการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการในวันที่ 25 กรกฎาคม 2565)

 

2.3-1(2)ผลการประเมินผลการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการพื้นที่โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ (จากโครงการติดตามตรวจเยี่ยมการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการในวันที่ 22 กรกฎาคม 2565)

          4. ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเองโดยคงอัตลักษณ์ของคนในชุมชนและเอกลักษณ์ของท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืน

                 ชุมชนในพื้นที่เป้าหมายระดับสถาบันมีการสร้างกลุ่ม สมาชิกมีการพัฒนาตนเอง และดำเนินงานกิจกรรมของกลุ่มอย่างต่อเนื่อง และประเมินผลการดำเนินงาน โดยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษเป็นที่ปรึกษา

ที่

พื้นที่

กลุ่ม

กลไกที่มีการพัฒนาตนเอง

1

ชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

2.4-1(1)

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา

           มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ร่วมกับศูนย์พัฒนานโยบายจังหวัดศรีสะเกษ ได้เริ่มดำเนินงานโครงการในพื้นที่ตั้งแต่ปี 2556 โดยการรวมกลุ่มผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา วางแผนและพัฒนาการผลิตปลาส้ม และเสริมสร้างองค์ความรู้การบริหารจัดการกลุ่ม ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่องทุกปี ได้จดทะเบียนเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา ในปีการศึกษา 2563 นำโดยคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ บูรณาการความร่วมกับหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เป็นที่ปรึกษาการดำเนินงานของกลุ่มจนกลุ่มสามารถดำเนินกิจกรรมของกลุ่มได้เอง และมีผลผลิตออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง จนเป็นที่รู้จักและมียอดสั่งซื้ออยู่ตลอด

          ซึ่งในปีการศึกษา 2564 กลุ่มได้ร้องขอให้มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษบริการวิชาการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพวิสาหกิจชุมชน มหาวิทยาลัยจึงอนุมัติการดำเนินงานโครงการเพิ่มประสิทธิภาพวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา จำนวน 300,000 บาท

           คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ได้ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมการดำเนินงานในพื้นที่ พบว่า สามาชิกกลุ่มมีการดำเนินกิจกรรมกลุ่มอย่างต่อเนื่อง มีการต่อยอดองค์ความรู้และพัฒนาผลิตภัณฑ์อยู่ตลอด เป็นกลุ่มที่มีความเข้มเข็มและสามารถดำเนินงานได้เอง มีมาตรการผลิตเป็นไปตามข้อตกลงของกลุ่ม เป็นสูตรปลาร้าและมีรสชาติเป็นเอกลักษ์ บรรจุภัณฑ์ สวยงาน กลุ่มมีความเข้มเข็งเห็นได้สมาชิกได้นำสิ้นค้าแสดงและขายในงานต่างๆของชุมชนและจังหวัดอย่างต่อเนื่อง

กลุ่มผู้ผลิตปลาส้มวัดจำปา

ในการศึกษาปี 2563 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย รวมกลุ่มชาวบ้านในชุมชนใกล้วัดจำปา ที่หาปลาเพื่อขายและบริโภคในเขื่อนหัวนา ร่วมกันอบรมทำปลาส้มขาย ซึ่งกลุ่มยังคงบริหารจัดการการผลิตปลาส้มขายได้อย่างดี มีการทำขายตามยอดสั่งซื้อ ออกขายงาน OTOP และวางจำหน่ายที่วัดหัวนา

ซึ่งคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ได้ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมการดำเนินงานในพื้นที่ พบว่า สามาชิกกลุ่มมีการดำเนินกิจกรรมกลุ่มอย่างต่อเนื่อง มีการต่อยอดองค์ความรู้และพัฒนาผลิตภัณฑ์อยู่ตลอด เป็นกลุ่มที่มีความเข้มเข็มและสามารถดำเนินงานได้เอง เห็นได้สมาชิกได้นำสิ้นค้าแสดงและขายในงานต่างๆของชุมชนและจังหวัดอย่างต่อเนื่อง

 

กลุ่มทอผ้าขิดบ้านหัวนา

สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ โดยบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานภายในและภายนอกลงพื้นที่กลุ่มทอผ้าขิดบ้านหัวนา และกลุ่มผ้าทอมือบ้านหัวนา ตั้งแต่ปี 2563 จนปัจจุบัน มีการต่อยอดและพัฒนาผลิตภัณฑ์ สอดคล้องตามความต้องการของชุมชน

และในปีการศึกษา 2564 ได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จากผ้าขิดและผ้าทอมือ โดยนำมาทำกระเป๋าผ้า จากการลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงาน สมาชิกกลุ่มมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง มีการศึกษารูปแบบการต่อยอดผลิตภัณฑ์เพิ่มเติม เพื่อนำไปทำเครื่องแต่งกายและเครื่องประดับต่อไป

กลุ่มผ้าทอมือบ้านหัวนา

2

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ2.4-1(2)

คณะทำงานในการคัดแยกขยะตามประเภทโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

             โรงเรียนได้แต่งตั้งคณะทำงานในการคัดแยกขยะตามประเภท มีการต่อยอดโดยการจัดตั้งธนาคารขยะ จัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายอย่างเป็นระบบ และนำฝากธนาคารออมสินชื่อบัญชี ลดปัญหาขยะในโรงเรียนและชุมชน

บุคลากรและเจ้าหน้าที่ทางการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน

              นำนวัตกรรมการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ๆ และผลิตชุดการเรียนการสอน และชุดฝึกทักษะการเรียนรู้ รูปแบบการฝึกความคิดสร้างสรรค์ กระตุ้นความคิดของนักเรียน และสามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนการเพาะเห็ด

มีคณะกรรมการบริหารกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่เข้มแข็ง และมีการสร้างกลไกในการขับเคลื่อน ดังนี้

1. มีการทำบัญชีรายรับรายจ่ายของสมาชิกกลุ่ม ซึ่งพบว่า ในปีการศึกษา 2564 ชุมชนมีรายได้จากการขายเห็ด จำนวน ............................. บาท/ต่อครัวเรือน/เดือน

    3.2 ชุมชนมีการขยายโรงเรือนเพาะเห็นนางฟ้าเพิ่มขึ้น จากเดิม ... โรงเรือน เป็น .... โรงเรือน  มีเห็นนางฟ้า...............ก้อน  และเห็ดฟาง จำนวน............. ก้อน

    3.3 ชุมชนสามารถเป็นวิทยากรในการบรรยาย เรื่อง การเพาะเห็ดนางฟ้า อาทิ  ชุมชนได้รับเชิญจากโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ ให้เป็นวิทยากรในการเพาะเห็ดนางฟ้า การสร้างโรงเรือน การดูแล  และการบริหารจัดการ  ส่งผลให้โรงเรียนสามารถเพาะเห็ดนางฟ้า เพื่อเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน  สามารถลดรายจ่ายค่าอาหารกลางวันได้เฉลี่ย 100-200 บาทต่อมื้อ ซึ่งเห็ดนางฟ้าที่เหลือในแต่ละวัน นักเรียนก็ยังสามารถนำกลับไปประกอบอาหารที่บ้านของตนได้

2.4-1(1)ผลการประเมินผลการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการพื้นที่ชุมชนบ้านหัวนา อำเภอกันทรารมย์ จังหวัด       ศรีสะเกษ (จากโครงการติดตามตรวจเยี่ยมการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการในวันที่ 25 กรกฎาคม 2565)

 

2.4-1(2)ผลการประเมินผลการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการพื้นที่โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ (จากโครงการติดตามตรวจเยี่ยมการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการในวันที่ 22 กรกฎาคม 2565)

         5. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคมหรือชุมชน/องค์กรอย่างเข้มแข็ง

มหาวิทยาลัย มีผลการดำเนินงานตามพันธกิจด้านการบริการวิชาการแก่สังคมที่โดดเด่นสามารถสร้างคุณค่า (Value) ด้าน  (1) In Cash คือ การสร้างคุณค่าพิจารณาผ่านค่าใช้จ่าย/มูลค่า/รายได้ (2) In Kind คือ การสร้างคุณค่าที่ไม่เน้นมูลค่า/รายได้ สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันโดยดึงจุดเด่นของชุมชนเป็นหลักในการพัฒนาส่งเสริมอาชีพในชุมชนที่เป็นอัตลักษ์ของชมุชน โดยมหาวิทยาลัยกำหนดเป้าหมายและนโยบายที่ชัดเจนในแผนการนำไปใช้ประโยชน์ และมุ่งสร้างองค์ความรู้ให้สมาชิกสามารถดึงจุดเด่นของชุมชนออกมาเพื่อพัฒนาเป็นจุดแข็งของชุมชนได้

ที่

พื้นที่

โครงการ/กิจกรรม

ผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคมหรือชุมชน/องค์กรอย่างเข้มแข็ง

1

ชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

2.1-5(1)

โครงการส่งเสริมสัมมาชีพชุมชนสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน พื้นที่ตำบลหนองแก้ว              อ.กันทรารมย์

1. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลาร้าบ้านหัวนา ที่เข้มแข็ง มีสูตรปลาร้าทีได้มาตรฐาน และกลุ่มสามารถวิเคราะห์ต้นทุนในการผลิตน้ําปลาร้าได้

           ช่วงแรกของการดำเนินโครงการมีสมาชิกกลุ่ม 7 คน ในปีการศึกษา 2562 มีการรวมกลุ่ม จำนวนทั้งสิ้น 17 คน และจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนที่เกษตรอำเภอกันทรารมย์ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ ในชื่อ “กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา” สมาชิกกลุ่มมีการสร้างระบบและกลไกในการดำเนินงานร่วมกัน โดยกำหนดมาตรฐานการผลิตเป็นข้อตกลงร่วมกัน จนได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมาตราฐานของชุมชน มีโลโก้ของกลุ่มและบรรจุภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าการจำหน่ายสินค้าในชุมชน และกลุ่มได้มีการจัดทำบัญชีต้นทุน

             ปัจจุบันมีกระบวนการผลิตน้ําปลาร้าที่เป็นมาตรฐานของกลุ่มวิสาหกิจโดยเกิดจากการวิเคราะห์ร่วมกันของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์กับกลุ่มผู้ผลิตน้ําปลาร้าบ้านหัวนา โดยเริ่มจากวิธีที่เป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน จํานวน 2 สูตร ได้มีการฉายกระบวนการการผลิตออกเป็นขั้นตอนแล้วจับเวลาแต่ละขั้นตอนทั้ง 2 สูตร เพื่อหาเวลามาตรฐาน (Standardtime) ในการผลิต จากนั้นได้มีการการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส (Sensory evaluation) น้ําปลาร้าทั้ง 2 สูตรจากกลุ่มชาวบ้าน 20 คน ประชาชนทั่วไปอีก 20 คน ผลปรากฏว่า สูตรที่ 1 ได้รับความนิยมสูงสุดแต่ยังมีจุดที่ต้องปรับปรุงคือ ยังมีการใส่ผงชูรสในปริมาณต่อหน่วยที่มากอยู่ หลังจากนั้นคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ได้นําน้ําปลาร้าสูตรที่ 1 มาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงสูตร โดยตัดผงชูรสออกแต่เพิ่มใบหม่อนในปริมาณมากขึ้นกว่าเดิม จาก 2 ใบเป็น5 ใบเพื่อเพิ่มรสชาติ พอปรับปรุงสูตรเสร็จเรียบร้อยได้มีการทําการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส (Sensoryevaluation) อีก 1 รอบ จึงได้สูตรมาตรฐานสําหรับการผลิตน้ําปลาร้า ต่อปลาร้าดิบ 1 กิโลกรัม ให้ผลผลิตน้ําปลาร้าสุก 900 กรัม หรือ 900 มิลลิลิตร

        โดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลาร้าลําน้ํามูลบ้านหัวนาสามารถวิเคราะห์ต้นทุนในการผลิตน้ําปลาร้าได้ โดยได้ใช้กระบวนการ ECRS ในการปรับกระบวนการทํางานทั้งโซ่อุปทานของปลาร้าบ้านหัวนา ซึ่งได้เริ่มวิเคราะห์จากต้นทุนส่วนต้นน้ํา คือ การหาปลาในลําน้ํามูล นํามาขายต่อให้ผู้ทําปลาร้าต่อน จากนั้นคิดต้นทุนการผลิตน้ําปลาร้าสุก รวมไปถึงคิดราคาบรรจุภัณฑ์ เพื่อตั้งเป็นราคาขายของกลุ่มฯ

2. กลุ่มอาชีพผู้ผลิตปลาส้ม บ้านหัวนา ที่เข้มแข็ง มีสูตรปลาร้าทีได้มาตรฐาน และกลุ่มสามารถวิเคราะห์ต้นทุนในการผลิตน้ําปลาร้าได้

 

           มีการรวมกลุ่มผู้หาปลาในเขื่อนหัวนาเพื่อบริโภคและจำหน่วย แปรรูปทำปลาส้มขาย โดยมีวัดจำปาเป็นศูนย์รวม ให้สถานที่ในการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลหนองแก้ว ผู้นำชุมชน และพัฒนาชุมชนตำบลหนองแก้ว  

จากการดำเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้ชุมชนมีรายได้ ดังนี้

1) มีรายได้จากการจัดงานประเพณีประจำปีของหมู่บ้าน คือ งานข้าวใหม่ปลามัน โดยมีหน่วยงานการ เอกชน และนักท่องเที่ยว จำนวนมาก มีการแสดงวัฒนธรรมฟ้อนกองตุ้ม มีการจำหน่ายอาหารประจำถิ่นขันโตก มีการจัดจำหน่ายสินค้าประจำหมู่บ้าน เช่น ปลาส้ม อ่องปูนา ผ้าไหม และอื่นๆ

2) มีรายได้จากการจำหน่ายสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนในงานเทศกาลประจำปีของจังหวัด เช่น เทศกาลงานแสงสีเสียงงานดอกลำดวนบาน งานกาชาด การจัดแสดงนิทรรศการของหน่วยงานของรัฐๆ ภายในจังหวัด และอื่นๆ

3) มีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เป็นสินค้าโอทอป เช่น จำหน่ายปลา ปูนา อ่องปูนา พรหมเช็ดเช้า ผ้าไหม ฯลฯ

           การดำเนินงานเป็นที่ยอมรับส่งผลให้ชุมชนบ้านหัวนาเป็นชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแหล่งใหม่ของจังหวัดศรีสะเกษมีนักท่องเที่ยวจำนวนมากแวะเวียนมาไม่ขาดสายมีแหล่งเรียนรู้ชาติพันธ์สี่เผ่าไทยที่ เกิดการยอมรับจากหน่วยงาน เช่น วัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ และหน่วยงานอื่นๆ อย่างกว้างขวาง ที่สำคัญบ้านหัวนา ยังเป็นชุมชนที่มหาวิทยาลัยคัดเลือกให้พื้นที่เป้าหมายของมหาวิทยาลัยเพื่อมุ่งพัฒนาสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัยโดยชุมชนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องผลงานเป็นประจักษ์ จนได้มีโอกาสครั้งสำคัญในการต้อนรับ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี ในการลงพื้นที่เพื่อติดตามการดำเนินงานพื้นที่เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ด้วย

โครงการส่งเสริมกลุ่มยุวเกษตรกรสร้างแหล่งอาหารเพื่อความมั่นคงทางด้านอาหารในครัวเรือนและชุมชน

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพวิสาหกิจชุมชน

ปลาร้าบ้านหัวนา

2

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

2.1-5(2)

คณะทำงานในการคัดแยกขยะตามประเภทโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

โรงเรียนได้แต่งตั้งคณะทำงานในการคัดแยกขยะตามประเภท มีการต่อยอดโดยการจัดตั้งธนาคารขยะ

ได้จัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายอย่างเป็นระบบ และนำฝากธนาคารออมสินชื่อบัญชี ลดปัญหาขยะในโรงเรียนและชุมชน

บุคลากรและเจ้าหน้าที่ทางการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน

บุคลากรและเจ้าหน้าที่ทางการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ได้นำนวัตกรรมการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ๆ และผลิตชุดการเรียนการสอน และชุดฝึกทักษะการเรียนรู้ รูปแบบการฝึกความคิดสร้างสรรค์ กระตุ้นความคิดของนักเรียน และสามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ดังนี้

- เด็กมีพัฒนาการเขียนการอ่าน ภาษาไทยได้ดีขึ้น ได้รับรางวัลการประกวดกิจกรรมการอ่านเอาเรื่อง ระดับ ป.1 - ป.3

- เด็กสามารถสร้างสรรค์และนำเสนอผลงานได้ดีขึ้น เป็นตัวแทนจังหวัดศรีสะเกษในการแข่งขันค้นหาสุดยอดเด็กไทยหัวใจเกษตร

- เด็กกล้าแสดงความคิดเห็น และอธิบายเหตุผลได้มากขึ้น ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดเล่าเรื่องความภูมิใจในท้องถิ่น : ภาษาอีสาน

- มีการจัดการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อทำการอนุรักษ์ ศึกษา วิจัยทางวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะทางด้านพฤกษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ว่าด้วยพืช และเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพืชสำหรับการศึกษาของนักวิจัย นักเรียน นักศึกษา หรือตอบสนองต่อการเป็นแหล่งท่องเที่ยวและสถานพักผ่อนหย่อนใจ และเป็นแหล่งพันธุกรรมให้แก่ชุมชนในท้องถิ่น

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนการเพาะเห็ด

ชุมชนสามารถเป็นวิทยากรในการบรรยาย เรื่อง การเพาะเห็ดนางฟ้า อาทิ  ชุมชนได้รับเชิญจากโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ ให้เป็นวิทยากรในการเพาะเห็ดนางฟ้า การสร้างโรงเรือน การดูแล  และการบริหารจัดการ  ส่งผลให้โรงเรียนสามารถเพาะเห็ดนางฟ้า เพื่อเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน  สามารถลดรายจ่ายค่าอาหารกลางวันได้เฉลี่ย 100-200 บาทต่อมื้อ ซึ่งเห็ดนางฟ้าที่เหลือในแต่ละวัน นักเรียนก็ยังสามารถนำกลับไปประกอบอาหารที่บ้านของตนได้

 

2.1-5(1) ผลการประเมินโครงการบริการวิชาการชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

2.1-5(2) ผลการประเมินโครงการบริการวิชาการชุมชนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

      6. เกิดชุมชนต้นแบบด้านการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ที่มีคณะและมหาวิทยาลัย เป็นผู้รับผิดชอบร่วมในการพัฒนาอย่างน้อย 1 ชุมชน 

                คณะ/สำนัก บูรณาการความร่วมมือกับชุมชน วัด โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล ศูนย์พัฒนานโยบายจังหวัดศรีสะเกษ พัฒนาชุมชนตำบล และผู้นำชุมชน  พัฒนาชุมชนในพื้นที่เป้าหมายระดับสถาบันประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 2 พื้นที่ ชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

และโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ จนพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน

ที่

พื้นที่

พ.ศ.

ผลการดำเนินงาน

ผลลัพท์/ผลกระทบ

1

ชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

2556

ถึง2565

       เป็นพื้นที่เป้าหมายการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 ดำเนินงาน มาอย่างต่อเนื่องทุกปี จนถึงปัจจุบันซึ่งมหาวิทยาลัย ได้ลงพื้นที่พัฒนาเพื่อยกระดับชุมชน ให้เป็นชุมชนท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวัฒนธรรม โดยมีการส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมโครงการต่าง ๆ ร่วมกับผู้นำชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบล กลุ่มอาชีพในพื้นที่ และรับการสนับสนุนจากศูนย์พัฒนานโยบายสาธรณะจังหวัดศรีสะเกษ จัดกิจกรรม เช่น กิจกรรมการอนุรักษ์การแสดงเชิงวัฒนธรรมชาติพันธ์ลาวฟ้อนกลองตุ้ม กิจกรรมการเพาะเลี้ยงปูนา และ แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์โอท๊อปชุมชน กิจกรรมประเพณีแห่กฐินทางน้ำ กิจกรรมพัฒนาฝีมือกลุ่มอาชีพชุมชนแปรรูปเศษผ้าเป็นพรหมเช็ดเท้า กิจกรรมการสร้างแหล่งเรียนรู้สี่เผ่าจังหวัดศรีสะเกษ กิจกรรมประจำปีงานข้าวใหม่ปลามัน  กิจกรรมการแปลรูปปลา และอื่น ๆ

 

ผลผลิต

1.เกิดกลุ่มวิหาหกิจชุมชนผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา

2.กระบวนการผลิตน้ำปลาร้าที่เป็นมาตรฐานกลุ่ม

3.มีองค์ความรู้ทักษะอาชีพใหม่การแปรรูปเศษผ้าเป็นพรมเช็ดเท้า /การนำผ้าทอมาทำกระเป๋า

ผลลัพธ์

1.เกิดคณะทำงานที่มีความเข้าใจบทบาทและมีความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาตามกรอบการลดต้นทุน

2.เกิดข้อตกลงในการใช้สูตรผลิตน้ำปลาร้าที่เป็นมาตรฐานของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน

3.เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่คือ พรมเช็คเท้าจากเศษผ้า และ กระเป๋าจากผ้าทอมือ

ผลกระทบ

1.เกิดการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในการผลิตน้ำปลาร้าบ้านหัวนา มีโครงสร้างการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ สร้างอาชีพและทำรายได้เพิ่ม

2. ส่งผลให้ชุมชนบ้านหัวนาเป็นชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแหล่งใหม่ของจังหวัด            ศรีสะเกษ  มีนักท่องเที่ยวจำนวนมากแวะเวียนมาไม่ขาดสายมีแหล่งเรียนรู้ชาติพันธ์สี่เผ่าไทยที่ เกิดการยอมรับจากหน่วยงาน เช่น วัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ และหน่วยงานอื่นๆ อย่างกว้างขวาง ที่สำคัญบ้านหัวนา ยังเป็นชุมชนที่มหาวิทยาลัยคัดเลือกให้พื้นที่เป้าหมายของมหาวิทยาลัยเพื่อมุ่งพัฒนาสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัยโดยชุมชนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องผลงานเป็นประจักษ์ จนได้มีโอกาสครั้งสำคัญในการต้อนรับ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี ในการลงพื้นที่เพื่อติดตามการดำเนินงานพื้นที่เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ด้วย

***มีกำหนดการติดตามตรวจเยี่ยมการดำเนินเพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการในเดือน กรกฎาคม 2565

2

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

2556

ถึง

ปัจจุบัน

       เป็นพื้นที่เป้าหมายการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่องทุกปี จนถึงปัจจุบัน ซึ่งมหาวิทยาลัยได้ลงพื้นที่ จัดกิจกรรม

  1. โครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณโรงเรียนให้มีความยั่งยืน และโครงการเสริมสร้างทักษะอาชีพและพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ดำเนินงานโดยคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  2.  โครงการบริการวิชาการคณะครุศาสตร์สู่โรงเรียน ดำเนินงานโดยคณะครุศาสตร์ เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  3. โครงการหน้าบ้าน น่ามอง ชุมชนน่าอยู่ ดำเนินงานโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  4. โครงการเสริมสร้างทักษะอาชีพและพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ดำเนินงานโดยคณะบริหารธุรกิจและการบัญชีเป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  5. โครงการอบรมการซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นดำเนินงานโดยสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก

      จากการทบทวนผลการดำเนินในงบประมาณ 2564 ชุมชนได้ร้องขอให้มีการสร้าง สวนพฤกษศาสตร์ ด้วยโรงเรียนมีต้นไม่นานาชนิดเป็นพรรณพืชต่างๆ จึงต้องการทำแหล่งเรียนรู้เอาไว้เพื่อทำการอนุรักษ์ ศึกษา วิจัยทางวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะทางด้านพฤกษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ว่าด้วยพืช และเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพืชสำหรับการศึกษาของนักวิจัย นักเรียน นักศึกษา หรือตอบสนองต่อการเป็นแหล่งท่องเที่ยวและสถานพักผ่อนหย่อนใจ และเป็นแหล่งพันธุกรรมให้แก่ชุมชนในท้องถิ่น

     ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2565 มหาวิทยาลัยได้ประกาศเป็นพื้นที่เป้าหมายระดับสถาบัน เพื่อมุ่งสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัย ดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ โดยคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการบูรณาการวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ตามศาสตร์ที่แต่ละคณะ/สำนัก ถนัด โดยมี่คณะครุศาสตร์ เป็นเจ้าภาพหลักในการร่วมลงพื้นที่สำรวจความต้องการชุมชน วิเคราะห์และวางแผนการจัดกิจกรรม และได้จัดกิจกรรมในพื้นที่ อาทิ สวนพฤกษศาสตร์ ...

 

***มีกำหนดการติดตามตรวจเยี่ยมการดำเนินเพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการในวันที่ 22    เดือนกรกฎาคม 2565

 

 

2.1-6(1) ผลการประเมินโครงการบริการวิชาการชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

2.1-6(2) ผลการประเมินโครงการบริการวิชาการชุมชนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

 

 

 

 

     

ชน 

                คณะ/สำนัก บูรณาการความร่วมมือกับชุมชน วัด โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล ศูนย์พัฒนานโยบายจังหวัดศรีสะเกษ พัฒนาชุมชนตำบล และผู้นำชุมชน  พัฒนาชุมชนในพื้นที่เป้าหมายระดับสถาบันประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 2 พื้นที่ ชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

และโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ จนพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน

ที่

พื้นที่

พ.ศ.

ผลการดำเนินงาน

ผลลัพท์/ผลกระทบ

1

ชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

2556

ถึง2565

       เป็นพื้นที่เป้าหมายการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 ดำเนินงาน มาอย่างต่อเนื่องทุกปี จนถึงปัจจุบันซึ่งมหาวิทยาลัย ได้ลงพื้นที่พัฒนาเพื่อยกระดับชุมชน ให้เป็นชุมชนท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวัฒนธรรม โดยมีการส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมโครงการต่าง ๆ ร่วมกับผู้นำชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบล กลุ่มอาชีพในพื้นที่ และรับการสนับสนุนจากศูนย์พัฒนานโยบายสาธรณะจังหวัดศรีสะเกษ จัดกิจกรรม เช่น กิจกรรมการอนุรักษ์การแสดงเชิงวัฒนธรรมชาติพันธ์ลาวฟ้อนกลองตุ้ม กิจกรรมการเพาะเลี้ยงปูนา และ แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์โอท๊อปชุมชน กิจกรรมประเพณีแห่กฐินทางน้ำ กิจกรรมพัฒนาฝีมือกลุ่มอาชีพชุมชนแปรรูปเศษผ้าเป็นพรหมเช็ดเท้า กิจกรรมการสร้างแหล่งเรียนรู้สี่เผ่าจังหวัดศรีสะเกษ กิจกรรมประจำปีงานข้าวใหม่ปลามัน  กิจกรรมการแปลรูปปลา และอื่น ๆ

 

ผลผลิต

1.เกิดกลุ่มวิหาหกิจชุมชนผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา

2.กระบวนการผลิตน้ำปลาร้าที่เป็นมาตรฐานกลุ่ม

3.มีองค์ความรู้ทักษะอาชีพใหม่การแปรรูปเศษผ้าเป็นพรมเช็ดเท้า /การนำผ้าทอมาทำกระเป๋า

ผลลัพธ์

1.เกิดคณะทำงานที่มีความเข้าใจบทบาทและมีความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาตามกรอบการลดต้นทุน

2.เกิดข้อตกลงในการใช้สูตรผลิตน้ำปลาร้าที่เป็นมาตรฐานของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน

3.เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่คือ พรมเช็คเท้าจากเศษผ้า และ กระเป๋าจากผ้าทอมือ

ผลกระทบ

1.เกิดการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในการผลิตน้ำปลาร้าบ้านหัวนา มีโครงสร้างการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ สร้างอาชีพและทำรายได้เพิ่ม

2. ส่งผลให้ชุมชนบ้านหัวนาเป็นชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแหล่งใหม่ของจังหวัด            ศรีสะเกษ  มีนักท่องเที่ยวจำนวนมากแวะเวียนมาไม่ขาดสายมีแหล่งเรียนรู้ชาติพันธ์สี่เผ่าไทยที่ เกิดการยอมรับจากหน่วยงาน เช่น วัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ และหน่วยงานอื่นๆ อย่างกว้างขวาง ที่สำคัญบ้านหัวนา ยังเป็นชุมชนที่มหาวิทยาลัยคัดเลือกให้พื้นที่เป้าหมายของมหาวิทยาลัยเพื่อมุ่งพัฒนาสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัยโดยชุมชนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องผลงานเป็นประจักษ์ จนได้มีโอกาสครั้งสำคัญในการต้อนรับ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี ในการลงพื้นที่เพื่อติดตามการดำเนินงานพื้นที่เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ด้วย

***มีกำหนดการติดตามตรวจเยี่ยมการดำเนินเพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการในเดือน กรกฎาคม 2565

2

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

2556

ถึง

ปัจจุบัน

       เป็นพื้นที่เป้าหมายการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่องทุกปี จนถึงปัจจุบัน ซึ่งมหาวิทยาลัยได้ลงพื้นที่ จัดกิจกรรม

  1. โครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณโรงเรียนให้มีความยั่งยืน และโครงการเสริมสร้างทักษะอาชีพและพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ดำเนินงานโดยคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  2.  โครงการบริการวิชาการคณะครุศาสตร์สู่โรงเรียน ดำเนินงานโดยคณะครุศาสตร์ เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  3. โครงการหน้าบ้าน น่ามอง ชุมชนน่าอยู่ ดำเนินงานโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  4. โครงการเสริมสร้างทักษะอาชีพและพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ดำเนินงานโดยคณะบริหารธุรกิจและการบัญชีเป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  5. โครงการอบรมการซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นดำเนินงานโดยสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก

      จากการทบทวนผลการดำเนินในงบประมาณ 2564 ชุมชนได้ร้องขอให้มีการสร้าง สวนพฤกษศาสตร์ ด้วยโรงเรียนมีต้นไม่นานาชนิดเป็นพรรณพืชต่างๆ จึงต้องการทำแหล่งเรียนรู้เอาไว้เพื่อทำการอนุรักษ์ ศึกษา วิจัยทางวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะทางด้านพฤกษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ว่าด้วยพืช และเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพืชสำหรับการศึกษาของนักวิจัย นักเรียน นักศึกษา หรือตอบสนองต่อการเป็นแหล่งท่องเที่ยวและสถานพักผ่อนหย่อนใจ และเป็นแหล่งพันธุกรรมให้แก่ชุมชนในท้องถิ่น

     ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2565 มหาวิทยาลัยได้ประกาศเป็นพื้นที่เป้าหมายระดับสถาบัน เพื่อมุ่งสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัย ดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ โดยคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการบูรณาการวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ตามศาสตร์ที่แต่ละคณะ/สำนัก ถนัด โดยมี่คณะครุศาสตร์ เป็นเจ้าภาพหลักในการร่วมลงพื้นที่สำรวจความต้องการชุมชน วิเคราะห์และวางแผนการจัดกิจกรรม และได้จัดกิจกรรมในพื้นที่ อาทิ สวนพฤกษศาสตร์ ...

 

***มีกำหนดการติดตามตรวจเยี่ยมการดำเนินเพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการในวันที่ 22    เดือนกรกฎาคม 2565

 

 

2.1-6(1) ผลการประเมินโครงการบริการวิชาการชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

2.1-6(2) ผลการประเมินโครงการบริการวิชาการชุมชนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

 

 

 

3ชุมชนหรือองค์กรมีผู้นำหรือสมาชิกที่มีการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

             มหาลัยมีการจัดระบบพี่เลี้ยงในการขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนบริการวิชาการ โดยมีคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการซึ่งเป็นผู้แทนจากทุกคณะ/สำนัก ร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงานบริการวิชาการ ซึ่งในปี 2565 มหาวิทยาลัยมีเป้าหมายมุ่งพัฒนาสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัยอย่างน้อย 2 พื้นที่ คือ ชุมชนบ้านหัวนา อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ และ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ เกิดกลุ่มอาชีพและผู้นำทีมีการเรียนรู้และการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

ที่

พื้นที่

กิจกรรม

องค์กรหรือผู้นำชุมชนมีการเรียนรู้และการดำเนินงานกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

1

ชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

(2.3-1(1))

ผลิตและจำหน่ายปลาร้าบ้านหัวนา

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา

        

ผลิตและจำหน่ายปลาส้มวัดจำปา

กลุ่มผู้ผลิตปลาส้มวัดจำปา

ขายผ้าขิด

กลุ่มทอผ้าขิดบ้านหัวนา

ขายผ้าทอมือ

กลุ่มผ้าทอมือบ้านหัวนา

2

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

(2.3-1(2))

เพาะเห็ดเพื่อบริโภคและจำหน่าย

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนการเพราะเห็ด

คัดแยกขยะตามประเภทโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

คณะทำงานในการคัดแยกขยะตามประเภทโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

 

 

4ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเอง โดยคงอัตลักษณ์ของคนในชุมชนและเอกลักษณ์ของท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืน

                 ชุมชนในพื้นที่เป้าหมายระดับสถาบันมีการสร้างกลุ่ม สมาชิกมีการพัฒนาตนเอง และดำเนินงานกิจกรรมของกลุ่มอย่างต่อเนื่อง และประเมินผลการดำเนินงาน โดยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษเป็นที่ปรึกษา

ที่

พื้นที่

กลุ่ม

กลไกที่มีการพัฒนาตนเอง

1

ชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

2.4-1(1)

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา

           มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ร่วมกับศูนย์พัฒนานโยบายจังหวัดศรีสะเกษ ได้เริ่มดำเนินงานโครงการในพื้นที่ตั้งแต่ปี 2556 โดยการรวมกลุ่มผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา วางแผนและพัฒนาการผลิตปลาส้ม และเสริมสร้างองค์ความรู้การบริหารจัดการกลุ่ม ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่องทุกปี ได้จดทะเบียนเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา ในปีการศึกษา 2563 นำโดยคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ บูรณาการความร่วมกับหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เป็นที่ปรึกษาการดำเนินงานของกลุ่มจนกลุ่มสามารถดำเนินกิจกรรมของกลุ่มได้เอง และมีผลผลิตออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง จนเป็นที่รู้จักและมียอดสั่งซื้ออยู่ตลอด

          ซึ่งในปีการศึกษา 2564 กลุ่มได้ร้องขอให้มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษบริการวิชาการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพวิสาหกิจชุมชน มหาวิทยาลัยจึงอนุมัติการดำเนินงานโครงการเพิ่มประสิทธิภาพวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา จำนวน 300,000 บาท

           คณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ได้ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมการดำเนินงานในพื้นที่ พบว่า สามาชิกกลุ่มมีการดำเนินกิจกรรมกลุ่มอย่างต่อเนื่อง มีการต่อยอดองค์ความรู้และพัฒนาผลิตภัณฑ์อยู่ตลอด เป็นกลุ่มที่มีความเข้มเข็มและสามารถดำเนินงานได้เอง มีมาตรการผลิตเป็นไปตามข้อตกลงของกลุ่ม เป็นสูตรปลาร้าและมีรสชาติเป็นเอกลักษ์ บรรจุภัณฑ์ สวยงาน กลุ่มมีความเข้มเข็งเห็นได้สมาชิกได้นำสิ้นค้าแสดงและขายในงานต่างๆของชุมชนและจังหวัดอย่างต่อเนื่อง

กลุ่มผู้ผลิตปลาส้มวัดจำปา

ในการศึกษาปี 2563 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย รวมกลุ่มชาวบ้านในชุมชนใกล้วัดจำปา ที่หาปลาเพื่อขายและบริโภคในเขื่อนหัวนา ร่วมกันอบรมทำปลาส้มขาย ซึ่งกลุ่มยังคงบริหารจัดการการผลิตปลาส้มขายได้อย่างดี มีการทำขายตามยอดสั่งซื้อ ออกขายงาน OTOP และวางจำหน่ายที่วัดหัวนา

ซึ่งคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ได้ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมการดำเนินงานในพื้นที่ พบว่า สามาชิกกลุ่มมีการดำเนินกิจกรรมกลุ่มอย่างต่อเนื่อง มีการต่อยอดองค์ความรู้และพัฒนาผลิตภัณฑ์อยู่ตลอด เป็นกลุ่มที่มีความเข้มเข็มและสามารถดำเนินงานได้เอง เห็นได้สมาชิกได้นำสิ้นค้าแสดงและขายในงานต่างๆของชุมชนและจังหวัดอย่างต่อเนื่อง

 

กลุ่มทอผ้าขิดบ้านหัวนา

สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ โดยบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานภายในและภายนอกลงพื้นที่กลุ่มทอผ้าขิดบ้านหัวนา และกลุ่มผ้าทอมือบ้านหัวนา ตั้งแต่ปี 2563 จนปัจจุบัน มีการต่อยอดและพัฒนาผลิตภัณฑ์ สอดคล้องตามความต้องการของชุมชน

และในปีการศึกษา 2564 ได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จากผ้าขิดและผ้าทอมือ โดยนำมาทำกระเป๋าผ้า จากการลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงาน สมาชิกกลุ่มมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง มีการศึกษารูปแบบการต่อยอดผลิตภัณฑ์เพิ่มเติม เพื่อนำไปทำเครื่องแต่งกายและเครื่องประดับต่อไป

กลุ่มผ้าทอมือบ้านหัวนา

2

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ2.4-1(2)

คณะทำงานในการคัดแยกขยะตามประเภทโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

             โรงเรียนได้แต่งตั้งคณะทำงานในการคัดแยกขยะตามประเภท มีการต่อยอดโดยการจัดตั้งธนาคารขยะ จัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายอย่างเป็นระบบ และนำฝากธนาคารออมสินชื่อบัญชี ลดปัญหาขยะในโรงเรียนและชุมชน

บุคลากรและเจ้าหน้าที่ทางการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน

              นำนวัตกรรมการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ๆ และผลิตชุดการเรียนการสอน และชุดฝึกทักษะการเรียนรู้ รูปแบบการฝึกความคิดสร้างสรรค์ กระตุ้นความคิดของนักเรียน และสามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนการเพาะเห็ด

มีคณะกรรมการบริหารกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่เข้มแข็ง และมีการสร้างกลไกในการขับเคลื่อน ดังนี้

1. มีการทำบัญชีรายรับรายจ่ายของสมาชิกกลุ่ม ซึ่งพบว่า ในปีการศึกษา 2564 ชุมชนมีรายได้จากการขายเห็ด จำนวน ............................. บาท/ต่อครัวเรือน/เดือน

    3.2 ชุมชนมีการขยายโรงเรือนเพาะเห็นนางฟ้าเพิ่มขึ้น จากเดิม ... โรงเรือน เป็น .... โรงเรือน  มีเห็นนางฟ้า...............ก้อน  และเห็ดฟาง จำนวน............. ก้อน

    3.3 ชุมชนสามารถเป็นวิทยากรในการบรรยาย เรื่อง การเพาะเห็ดนางฟ้า อาทิ  ชุมชนได้รับเชิญจากโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ ให้เป็นวิทยากรในการเพาะเห็ดนางฟ้า การสร้างโรงเรือน การดูแล  และการบริหารจัดการ  ส่งผลให้โรงเรียนสามารถเพาะเห็ดนางฟ้า เพื่อเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน  สามารถลดรายจ่ายค่าอาหารกลางวันได้เฉลี่ย 100-200 บาทต่อมื้อ ซึ่งเห็ดนางฟ้าที่เหลือในแต่ละวัน นักเรียนก็ยังสามารถนำกลับไปประกอบอาหารที่บ้านของตนได้

5มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคม หรือชุมชน/องค์กรอย่างเข้มแข็ง

มหาวิทยาลัย มีผลการดำเนินงานตามพันธกิจด้านการบริการวิชาการแก่สังคมที่โดดเด่นสามารถสร้างคุณค่า (Value) ด้าน  (1) In Cash คือ การสร้างคุณค่าพิจารณาผ่านค่าใช้จ่าย/มูลค่า/รายได้ (2) In Kind คือ การสร้างคุณค่าที่ไม่เน้นมูลค่า/รายได้ สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันโดยดึงจุดเด่นของชุมชนเป็นหลักในการพัฒนาส่งเสริมอาชีพในชุมชนที่เป็นอัตลักษ์ของชมุชน โดยมหาวิทยาลัยกำหนดเป้าหมายและนโยบายที่ชัดเจนในแผนการนำไปใช้ประโยชน์ และมุ่งสร้างองค์ความรู้ให้สมาชิกสามารถดึงจุดเด่นของชุมชนออกมาเพื่อพัฒนาเป็นจุดแข็งของชุมชนได้

ที่

พื้นที่

โครงการ/กิจกรรม

ผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคมหรือชุมชน/องค์กรอย่างเข้มแข็ง

1

ชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

2.1-5(1)

โครงการส่งเสริมสัมมาชีพชุมชนสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน พื้นที่ตำบลหนองแก้ว              อ.กันทรารมย์

1. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลาร้าบ้านหัวนา ที่เข้มแข็ง มีสูตรปลาร้าทีได้มาตรฐาน และกลุ่มสามารถวิเคราะห์ต้นทุนในการผลิตน้ําปลาร้าได้

           ช่วงแรกของการดำเนินโครงการมีสมาชิกกลุ่ม 7 คน ในปีการศึกษา 2562 มีการรวมกลุ่ม จำนวนทั้งสิ้น 17 คน และจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนที่เกษตรอำเภอกันทรารมย์ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ ในชื่อ “กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา” สมาชิกกลุ่มมีการสร้างระบบและกลไกในการดำเนินงานร่วมกัน โดยกำหนดมาตรฐานการผลิตเป็นข้อตกลงร่วมกัน จนได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมาตราฐานของชุมชน มีโลโก้ของกลุ่มและบรรจุภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าการจำหน่ายสินค้าในชุมชน และกลุ่มได้มีการจัดทำบัญชีต้นทุน

             ปัจจุบันมีกระบวนการผลิตน้ําปลาร้าที่เป็นมาตรฐานของกลุ่มวิสาหกิจโดยเกิดจากการวิเคราะห์ร่วมกันของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์กับกลุ่มผู้ผลิตน้ําปลาร้าบ้านหัวนา โดยเริ่มจากวิธีที่เป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน จํานวน 2 สูตร ได้มีการฉายกระบวนการการผลิตออกเป็นขั้นตอนแล้วจับเวลาแต่ละขั้นตอนทั้ง 2 สูตร เพื่อหาเวลามาตรฐาน (Standardtime) ในการผลิต จากนั้นได้มีการการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส (Sensory evaluation) น้ําปลาร้าทั้ง 2 สูตรจากกลุ่มชาวบ้าน 20 คน ประชาชนทั่วไปอีก 20 คน ผลปรากฏว่า สูตรที่ 1 ได้รับความนิยมสูงสุดแต่ยังมีจุดที่ต้องปรับปรุงคือ ยังมีการใส่ผงชูรสในปริมาณต่อหน่วยที่มากอยู่ หลังจากนั้นคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ได้นําน้ําปลาร้าสูตรที่ 1 มาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงสูตร โดยตัดผงชูรสออกแต่เพิ่มใบหม่อนในปริมาณมากขึ้นกว่าเดิม จาก 2 ใบเป็น5 ใบเพื่อเพิ่มรสชาติ พอปรับปรุงสูตรเสร็จเรียบร้อยได้มีการทําการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส (Sensoryevaluation) อีก 1 รอบ จึงได้สูตรมาตรฐานสําหรับการผลิตน้ําปลาร้า ต่อปลาร้าดิบ 1 กิโลกรัม ให้ผลผลิตน้ําปลาร้าสุก 900 กรัม หรือ 900 มิลลิลิตร

        โดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลาร้าลําน้ํามูลบ้านหัวนาสามารถวิเคราะห์ต้นทุนในการผลิตน้ําปลาร้าได้ โดยได้ใช้กระบวนการ ECRS ในการปรับกระบวนการทํางานทั้งโซ่อุปทานของปลาร้าบ้านหัวนา ซึ่งได้เริ่มวิเคราะห์จากต้นทุนส่วนต้นน้ํา คือ การหาปลาในลําน้ํามูล นํามาขายต่อให้ผู้ทําปลาร้าต่อน จากนั้นคิดต้นทุนการผลิตน้ําปลาร้าสุก รวมไปถึงคิดราคาบรรจุภัณฑ์ เพื่อตั้งเป็นราคาขายของกลุ่มฯ

2. กลุ่มอาชีพผู้ผลิตปลาส้ม บ้านหัวนา ที่เข้มแข็ง มีสูตรปลาร้าทีได้มาตรฐาน และกลุ่มสามารถวิเคราะห์ต้นทุนในการผลิตน้ําปลาร้าได้

 

           มีการรวมกลุ่มผู้หาปลาในเขื่อนหัวนาเพื่อบริโภคและจำหน่วย แปรรูปทำปลาส้มขาย โดยมีวัดจำปาเป็นศูนย์รวม ให้สถานที่ในการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลหนองแก้ว ผู้นำชุมชน และพัฒนาชุมชนตำบลหนองแก้ว  

จากการดำเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้ชุมชนมีรายได้ ดังนี้

1) มีรายได้จากการจัดงานประเพณีประจำปีของหมู่บ้าน คือ งานข้าวใหม่ปลามัน โดยมีหน่วยงานการ เอกชน และนักท่องเที่ยว จำนวนมาก มีการแสดงวัฒนธรรมฟ้อนกองตุ้ม มีการจำหน่ายอาหารประจำถิ่นขันโตก มีการจัดจำหน่ายสินค้าประจำหมู่บ้าน เช่น ปลาส้ม อ่องปูนา ผ้าไหม และอื่นๆ

2) มีรายได้จากการจำหน่ายสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนในงานเทศกาลประจำปีของจังหวัด เช่น เทศกาลงานแสงสีเสียงงานดอกลำดวนบาน งานกาชาด การจัดแสดงนิทรรศการของหน่วยงานของรัฐๆ ภายในจังหวัด และอื่นๆ

3) มีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เป็นสินค้าโอทอป เช่น จำหน่ายปลา ปูนา อ่องปูนา พรหมเช็ดเช้า ผ้าไหม ฯลฯ

           การดำเนินงานเป็นที่ยอมรับส่งผลให้ชุมชนบ้านหัวนาเป็นชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแหล่งใหม่ของจังหวัดศรีสะเกษมีนักท่องเที่ยวจำนวนมากแวะเวียนมาไม่ขาดสายมีแหล่งเรียนรู้ชาติพันธ์สี่เผ่าไทยที่ เกิดการยอมรับจากหน่วยงาน เช่น วัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ และหน่วยงานอื่นๆ อย่างกว้างขวาง ที่สำคัญบ้านหัวนา ยังเป็นชุมชนที่มหาวิทยาลัยคัดเลือกให้พื้นที่เป้าหมายของมหาวิทยาลัยเพื่อมุ่งพัฒนาสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัยโดยชุมชนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องผลงานเป็นประจักษ์ จนได้มีโอกาสครั้งสำคัญในการต้อนรับ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี ในการลงพื้นที่เพื่อติดตามการดำเนินงานพื้นที่เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ด้วย

โครงการส่งเสริมกลุ่มยุวเกษตรกรสร้างแหล่งอาหารเพื่อความมั่นคงทางด้านอาหารในครัวเรือนและชุมชน

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพวิสาหกิจชุมชน

ปลาร้าบ้านหัวนา

2

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

2.1-5(2)

คณะทำงานในการคัดแยกขยะตามประเภทโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่

โรงเรียนได้แต่งตั้งคณะทำงานในการคัดแยกขยะตามประเภท มีการต่อยอดโดยการจัดตั้งธนาคารขยะ

ได้จัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายอย่างเป็นระบบ และนำฝากธนาคารออมสินชื่อบัญชี ลดปัญหาขยะในโรงเรียนและชุมชน

บุคลากรและเจ้าหน้าที่ทางการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน

บุคลากรและเจ้าหน้าที่ทางการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ได้นำนวัตกรรมการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ๆ และผลิตชุดการเรียนการสอน และชุดฝึกทักษะการเรียนรู้ รูปแบบการฝึกความคิดสร้างสรรค์ กระตุ้นความคิดของนักเรียน และสามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ดังนี้

- เด็กมีพัฒนาการเขียนการอ่าน ภาษาไทยได้ดีขึ้น ได้รับรางวัลการประกวดกิจกรรมการอ่านเอาเรื่อง ระดับ ป.1 - ป.3

- เด็กสามารถสร้างสรรค์และนำเสนอผลงานได้ดีขึ้น เป็นตัวแทนจังหวัดศรีสะเกษในการแข่งขันค้นหาสุดยอดเด็กไทยหัวใจเกษตร

- เด็กกล้าแสดงความคิดเห็น และอธิบายเหตุผลได้มากขึ้น ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดเล่าเรื่องความภูมิใจในท้องถิ่น : ภาษาอีสาน

- มีการจัดการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อทำการอนุรักษ์ ศึกษา วิจัยทางวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะทางด้านพฤกษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ว่าด้วยพืช และเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพืชสำหรับการศึกษาของนักวิจัย นักเรียน นักศึกษา หรือตอบสนองต่อการเป็นแหล่งท่องเที่ยวและสถานพักผ่อนหย่อนใจ และเป็นแหล่งพันธุกรรมให้แก่ชุมชนในท้องถิ่น

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนการเพาะเห็ด

ชุมชนสามารถเป็นวิทยากรในการบรรยาย เรื่อง การเพาะเห็ดนางฟ้า อาทิ  ชุมชนได้รับเชิญจากโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ ให้เป็นวิทยากรในการเพาะเห็ดนางฟ้า การสร้างโรงเรือน การดูแล  และการบริหารจัดการ  ส่งผลให้โรงเรียนสามารถเพาะเห็ดนางฟ้า เพื่อเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน  สามารถลดรายจ่ายค่าอาหารกลางวันได้เฉลี่ย 100-200 บาทต่อมื้อ ซึ่งเห็ดนางฟ้าที่เหลือในแต่ละวัน นักเรียนก็ยังสามารถนำกลับไปประกอบอาหารที่บ้านของตนได้

 

6เกิดชุมชนต้นแบบด้านการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ที่มีคณะและมหาวิทยาลัย เป็นผู้รับผิดชอบร่วมในการพัฒนาอย่างน้อย 1 ชุมชน

      6. เกิดชุมชนต้นแบบด้านการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ที่มีคณะและมหาวิทยาลัย เป็นผู้รับผิดชอบร่วมในการพัฒนาอย่างน้อย 1 ชุมชน 

                คณะ/สำนัก บูรณาการความร่วมมือกับชุมชน วัด โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล ศูนย์พัฒนานโยบายจังหวัดศรีสะเกษ พัฒนาชุมชนตำบล และผู้นำชุมชน  พัฒนาชุมชนในพื้นที่เป้าหมายระดับสถาบันประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 2 พื้นที่ ชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

และโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ จนพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน

ที่

พื้นที่

พ.ศ.

ผลการดำเนินงาน

ผลลัพท์/ผลกระทบ

1

ชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

2556

ถึง2565

       เป็นพื้นที่เป้าหมายการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 ดำเนินงาน มาอย่างต่อเนื่องทุกปี จนถึงปัจจุบันซึ่งมหาวิทยาลัย ได้ลงพื้นที่พัฒนาเพื่อยกระดับชุมชน ให้เป็นชุมชนท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวัฒนธรรม โดยมีการส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมโครงการต่าง ๆ ร่วมกับผู้นำชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบล กลุ่มอาชีพในพื้นที่ และรับการสนับสนุนจากศูนย์พัฒนานโยบายสาธรณะจังหวัดศรีสะเกษ จัดกิจกรรม เช่น กิจกรรมการอนุรักษ์การแสดงเชิงวัฒนธรรมชาติพันธ์ลาวฟ้อนกลองตุ้ม กิจกรรมการเพาะเลี้ยงปูนา และ แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์โอท๊อปชุมชน กิจกรรมประเพณีแห่กฐินทางน้ำ กิจกรรมพัฒนาฝีมือกลุ่มอาชีพชุมชนแปรรูปเศษผ้าเป็นพรหมเช็ดเท้า กิจกรรมการสร้างแหล่งเรียนรู้สี่เผ่าจังหวัดศรีสะเกษ กิจกรรมประจำปีงานข้าวใหม่ปลามัน  กิจกรรมการแปลรูปปลา และอื่น ๆ

 

ผลผลิต

1.เกิดกลุ่มวิหาหกิจชุมชนผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา

2.กระบวนการผลิตน้ำปลาร้าที่เป็นมาตรฐานกลุ่ม

3.มีองค์ความรู้ทักษะอาชีพใหม่การแปรรูปเศษผ้าเป็นพรมเช็ดเท้า /การนำผ้าทอมาทำกระเป๋า

ผลลัพธ์

1.เกิดคณะทำงานที่มีความเข้าใจบทบาทและมีความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาตามกรอบการลดต้นทุน

2.เกิดข้อตกลงในการใช้สูตรผลิตน้ำปลาร้าที่เป็นมาตรฐานของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน

3.เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่คือ พรมเช็คเท้าจากเศษผ้า และ กระเป๋าจากผ้าทอมือ

ผลกระทบ

1.เกิดการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในการผลิตน้ำปลาร้าบ้านหัวนา มีโครงสร้างการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ สร้างอาชีพและทำรายได้เพิ่ม

2. ส่งผลให้ชุมชนบ้านหัวนาเป็นชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแหล่งใหม่ของจังหวัด            ศรีสะเกษ  มีนักท่องเที่ยวจำนวนมากแวะเวียนมาไม่ขาดสายมีแหล่งเรียนรู้ชาติพันธ์สี่เผ่าไทยที่ เกิดการยอมรับจากหน่วยงาน เช่น วัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ และหน่วยงานอื่นๆ อย่างกว้างขวาง ที่สำคัญบ้านหัวนา ยังเป็นชุมชนที่มหาวิทยาลัยคัดเลือกให้พื้นที่เป้าหมายของมหาวิทยาลัยเพื่อมุ่งพัฒนาสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัยโดยชุมชนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องผลงานเป็นประจักษ์ จนได้มีโอกาสครั้งสำคัญในการต้อนรับ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี ในการลงพื้นที่เพื่อติดตามการดำเนินงานพื้นที่เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ด้วย

***มีกำหนดการติดตามตรวจเยี่ยมการดำเนินเพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการในเดือน กรกฎาคม 2565

2

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

2556

ถึง

ปัจจุบัน

       เป็นพื้นที่เป้าหมายการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่องทุกปี จนถึงปัจจุบัน ซึ่งมหาวิทยาลัยได้ลงพื้นที่ จัดกิจกรรม

  1. โครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณโรงเรียนให้มีความยั่งยืน และโครงการเสริมสร้างทักษะอาชีพและพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ดำเนินงานโดยคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  2.  โครงการบริการวิชาการคณะครุศาสตร์สู่โรงเรียน ดำเนินงานโดยคณะครุศาสตร์ เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  3. โครงการหน้าบ้าน น่ามอง ชุมชนน่าอยู่ ดำเนินงานโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  4. โครงการเสริมสร้างทักษะอาชีพและพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ดำเนินงานโดยคณะบริหารธุรกิจและการบัญชีเป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  5. โครงการอบรมการซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นดำเนินงานโดยสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก

      จากการทบทวนผลการดำเนินในงบประมาณ 2564 ชุมชนได้ร้องขอให้มีการสร้าง สวนพฤกษศาสตร์ ด้วยโรงเรียนมีต้นไม่นานาชนิดเป็นพรรณพืชต่างๆ จึงต้องการทำแหล่งเรียนรู้เอาไว้เพื่อทำการอนุรักษ์ ศึกษา วิจัยทางวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะทางด้านพฤกษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ว่าด้วยพืช และเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพืชสำหรับการศึกษาของนักวิจัย นักเรียน นักศึกษา หรือตอบสนองต่อการเป็นแหล่งท่องเที่ยวและสถานพักผ่อนหย่อนใจ และเป็นแหล่งพันธุกรรมให้แก่ชุมชนในท้องถิ่น

     ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2565 มหาวิทยาลัยได้ประกาศเป็นพื้นที่เป้าหมายระดับสถาบัน เพื่อมุ่งสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัย ดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ โดยคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการบูรณาการวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ตามศาสตร์ที่แต่ละคณะ/สำนัก ถนัด โดยมี่คณะครุศาสตร์ เป็นเจ้าภาพหลักในการร่วมลงพื้นที่สำรวจความต้องการชุมชน วิเคราะห์และวางแผนการจัดกิจกรรม และได้จัดกิจกรรมในพื้นที่ อาทิ สวนพฤกษศาสตร์ ...

 

***มีกำหนดการติดตามตรวจเยี่ยมการดำเนินเพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการในวันที่ 22    เดือนกรกฎาคม 2565

 

 

2.1-6(1) ผลการประเมินโครงการบริการวิชาการชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

2.1-6(2) ผลการประเมินโครงการบริการวิชาการชุมชนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

 

      6. เกิดชุมชนต้นแบบด้านการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ที่มีคณะและมหาวิทยาลัย เป็นผู้รับผิดชอบร่วมในการพัฒนาอย่างน้อย 1 ชุมชน 

                คณะ/สำนัก บูรณาการความร่วมมือกับชุมชน วัด โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล ศูนย์พัฒนานโยบายจังหวัดศรีสะเกษ พัฒนาชุมชนตำบล และผู้นำชุมชน  พัฒนาชุมชนในพื้นที่เป้าหมายระดับสถาบันประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 2 พื้นที่ ชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

และโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ จนพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน

ที่

พื้นที่

พ.ศ.

ผลการดำเนินงาน

ผลลัพท์/ผลกระทบ

1

ชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

2556

ถึง2565

       เป็นพื้นที่เป้าหมายการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 ดำเนินงาน มาอย่างต่อเนื่องทุกปี จนถึงปัจจุบันซึ่งมหาวิทยาลัย ได้ลงพื้นที่พัฒนาเพื่อยกระดับชุมชน ให้เป็นชุมชนท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวัฒนธรรม โดยมีการส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมโครงการต่าง ๆ ร่วมกับผู้นำชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบล กลุ่มอาชีพในพื้นที่ และรับการสนับสนุนจากศูนย์พัฒนานโยบายสาธรณะจังหวัดศรีสะเกษ จัดกิจกรรม เช่น กิจกรรมการอนุรักษ์การแสดงเชิงวัฒนธรรมชาติพันธ์ลาวฟ้อนกลองตุ้ม กิจกรรมการเพาะเลี้ยงปูนา และ แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์โอท๊อปชุมชน กิจกรรมประเพณีแห่กฐินทางน้ำ กิจกรรมพัฒนาฝีมือกลุ่มอาชีพชุมชนแปรรูปเศษผ้าเป็นพรหมเช็ดเท้า กิจกรรมการสร้างแหล่งเรียนรู้สี่เผ่าจังหวัดศรีสะเกษ กิจกรรมประจำปีงานข้าวใหม่ปลามัน  กิจกรรมการแปลรูปปลา และอื่น ๆ

 

ผลผลิต

1.เกิดกลุ่มวิหาหกิจชุมชนผู้ผลิตปลาร้าบ้านหัวนา

2.กระบวนการผลิตน้ำปลาร้าที่เป็นมาตรฐานกลุ่ม

3.มีองค์ความรู้ทักษะอาชีพใหม่การแปรรูปเศษผ้าเป็นพรมเช็ดเท้า /การนำผ้าทอมาทำกระเป๋า

ผลลัพธ์

1.เกิดคณะทำงานที่มีความเข้าใจบทบาทและมีความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาตามกรอบการลดต้นทุน

2.เกิดข้อตกลงในการใช้สูตรผลิตน้ำปลาร้าที่เป็นมาตรฐานของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน

3.เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่คือ พรมเช็คเท้าจากเศษผ้า และ กระเป๋าจากผ้าทอมือ

ผลกระทบ

1.เกิดการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในการผลิตน้ำปลาร้าบ้านหัวนา มีโครงสร้างการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ สร้างอาชีพและทำรายได้เพิ่ม

2. ส่งผลให้ชุมชนบ้านหัวนาเป็นชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแหล่งใหม่ของจังหวัด            ศรีสะเกษ  มีนักท่องเที่ยวจำนวนมากแวะเวียนมาไม่ขาดสายมีแหล่งเรียนรู้ชาติพันธ์สี่เผ่าไทยที่ เกิดการยอมรับจากหน่วยงาน เช่น วัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ และหน่วยงานอื่นๆ อย่างกว้างขวาง ที่สำคัญบ้านหัวนา ยังเป็นชุมชนที่มหาวิทยาลัยคัดเลือกให้พื้นที่เป้าหมายของมหาวิทยาลัยเพื่อมุ่งพัฒนาสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัยโดยชุมชนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องผลงานเป็นประจักษ์ จนได้มีโอกาสครั้งสำคัญในการต้อนรับ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี ในการลงพื้นที่เพื่อติดตามการดำเนินงานพื้นที่เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ด้วย

***มีกำหนดการติดตามตรวจเยี่ยมการดำเนินเพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการในเดือน กรกฎาคม 2565

2

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

2556

ถึง

ปัจจุบัน

       เป็นพื้นที่เป้าหมายการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่องทุกปี จนถึงปัจจุบัน ซึ่งมหาวิทยาลัยได้ลงพื้นที่ จัดกิจกรรม

  1. โครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณโรงเรียนให้มีความยั่งยืน และโครงการเสริมสร้างทักษะอาชีพและพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ดำเนินงานโดยคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  2.  โครงการบริการวิชาการคณะครุศาสตร์สู่โรงเรียน ดำเนินงานโดยคณะครุศาสตร์ เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  3. โครงการหน้าบ้าน น่ามอง ชุมชนน่าอยู่ ดำเนินงานโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  4. โครงการเสริมสร้างทักษะอาชีพและพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ดำเนินงานโดยคณะบริหารธุรกิจและการบัญชีเป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก
  5. โครงการอบรมการซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นดำเนินงานโดยสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ เป็นหลักและบูรณาการ วางแผนการดำเนินงานร่วมกันกับคณะ/สำนัก

      จากการทบทวนผลการดำเนินในงบประมาณ 2564 ชุมชนได้ร้องขอให้มีการสร้าง สวนพฤกษศาสตร์ ด้วยโรงเรียนมีต้นไม่นานาชนิดเป็นพรรณพืชต่างๆ จึงต้องการทำแหล่งเรียนรู้เอาไว้เพื่อทำการอนุรักษ์ ศึกษา วิจัยทางวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะทางด้านพฤกษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ว่าด้วยพืช และเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพืชสำหรับการศึกษาของนักวิจัย นักเรียน นักศึกษา หรือตอบสนองต่อการเป็นแหล่งท่องเที่ยวและสถานพักผ่อนหย่อนใจ และเป็นแหล่งพันธุกรรมให้แก่ชุมชนในท้องถิ่น

     ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2565 มหาวิทยาลัยได้ประกาศเป็นพื้นที่เป้าหมายระดับสถาบัน เพื่อมุ่งสู่ชุมชนต้นแบบของมหาวิทยาลัย ดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ โดยคณะกรรมการดำเนินงานด้านบริการวิชาการบูรณาการวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ตามศาสตร์ที่แต่ละคณะ/สำนัก ถนัด โดยมี่คณะครุศาสตร์ เป็นเจ้าภาพหลักในการร่วมลงพื้นที่สำรวจความต้องการชุมชน วิเคราะห์และวางแผนการจัดกิจกรรม และได้จัดกิจกรรมในพื้นที่ อาทิ สวนพฤกษศาสตร์ ...

 

***มีกำหนดการติดตามตรวจเยี่ยมการดำเนินเพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการในวันที่ 22    เดือนกรกฎาคม 2565

 

 

2.1-6(1) ผลการประเมินโครงการบริการวิชาการชุมชนบ้านหัวนา ตําบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ

2.1-6(2) ผลการประเมินโครงการบริการวิชาการชุมชนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

 

 

ผลคะแนนการประเมินตนเอง
ทำได้ (ข้อ) ได้คะแนน
6 5