มหาวิทยาลัยถือเป็นขุมปัญญาของประเทศ และมีความรับผิดชอบที่จะต้องส่งเสริมให้อาจารย์ในมหาวิทยาลัยทำการศึกษาวิจัยเพื่อแสวงหาและพัฒนาองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาวิชาต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อนำไปใช้ในการเรียนการสอน รวมทั้งการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศ การดำรงตำแหน่งทางวิชาการเป็นสิ่งสะท้อนการปฏิบัติงานดังกล่าวของอาจารย์ตามพันธกิจ
โดยการแปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ เป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5
ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์รวมกัน ที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป
1. คำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ตามสูตร
จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ |
---------------------------------------------------------------------------------------------- x 100 |
จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด |
2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5
คะแนนที่ได้ | = | ร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ |
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ x 5 | ||
ร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 |
สถาบันอุดมศึกษาถือเป็นขุมปัญญาของประเทศและมีความรับผิดชอบที่จะต้องส่งเสริมให้อาจารย์ในสถาบันทำการศึกษาวิจัยเพื่อแสวงหาและพัฒนาองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาวิชาต่างๆอย่างต่อเนื่องเพื่อนำไปใช้ในการเรียนการสอนรวมทั้งการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศการดำรงตำแหน่งทางวิชาการเป็นสิ่งสะท้อนการปฏิบัติงานดังกล่าวของอาจารย์ตามพันธกิจ
เกณฑ์การประเมิน
โดยการแปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการเป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5
1. เกณฑ์เฉพาะคณะกลุ่ม ข และ ค 2
ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์รองศาสตราจารย์และศาสตราจารย์รวมกันที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป
2. เกณฑ์เฉพาะคณะกลุ่ม ค1 และ ง
ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์รองศาสตราจารย์และศาสตราจารย์รวมกันที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 80 ขึ้นไป
สูตรการคำนวณ
1. คำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการตามสูตร
|
|
จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ |
X 100 |
|
|
จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด |
2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5
คะแนนที่ได้ =
|
|
ร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ |
X 5 |
|
ร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 |
ข้อค้นพบ/ผลการดำเนินงาน
คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มีอาจารย์ประจำทั้งหมดที่ปฏิบัติงานจริง จำนวน 36 คน และมีตำแหน่งทางวิชาการ ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ จำนวน 14 คน ได้แก่
ลำดับที่ |
ชื่อ - สกุล |
ระดับการศึกษาสูงสุด |
ตำแหน่งทางวิชาการ |
1 |
ผศ.ดร.สหัสา พลนิล |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
2 |
ผศ.ดร.วิมล หลักรัตน์ |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
3 |
ผศ.ดร.ภาดล อามาตย์ |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
4 |
ผศ.ศิริกมล ประภาสพงษ์ |
ปริญญาโท |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
5 |
ผศ.ดร.อรรถพล ศิริเวชพันธุ์ |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
6 |
ผศ.ดร.ปิยฉัตร ทองแพง |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
7 |
ผศ.ดร.สุภัทรษร ทวีจันทร์ |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
8 |
ผศ.สุดาทิพย์ เกษจ้อย |
ปริญญาโท |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
9 |
ผศ.ดร.ญาณิศา ศรีบุญเรือง |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
10 |
ผศ.นารีรัตน์ ศรีหล้า |
ปริญญาโท |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
11 |
ผศ.จิตติมา พลศักดิ์ |
ปริญญาโท |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
12 |
ผศ.ดร.นนทยา อิทธิชินบัญชร |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
13 |
ผศ.ดร.ลินดา ราเต |
ปริญญาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
14 |
ผศ.เพ็ญลักษณ์ อ่อนทรวง |
ปริญญาโท |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
สูตรการคำนวณ
1. คำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการตามสูตร
|
14 |
X 100 = ร้อยละ 38.89 |
36 |
2. แปลงจำนวนเงินที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5
คะแนน = |
38.89 |
X |
= 3.24 คะแนน |
60 |
หลักฐานอ้างอิง: |
|
หมายเลขเอกสาร |
ชื่อเอกสาร |
1.3-1 |
รายชื่ออาจารย์ประจำทั้งหมดที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ ประจำปีการศึกษา 2564 |
รหัสหลักฐาน | เอกสารหลักฐาน | |
---|---|---|
1.3 - (1) | รายชื่ออาจารย์ประจำทั้งหมดที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ ประจำปีการศึกษา 2564 | |
1.3 - (2) | รายชื่ออาจารย์ อาจารย์วิชุดา สิงห์คำ ได้รับปริญญา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
ทำได้ (ข้อ) | ได้คะแนน | |
---|---|---|
ร้อยละ 38.89 | 3.24 |