✓ | 1 | มีจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง จากภายในและภายนอกหน่วยงาน ที่ครอบคลุมตามพันธกิจหรือความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ทับซ้อน ของหน่วยงานอย่างน้อย 3 ด้าน ตามบริบทของหน่วยงาน |
1. สำนักงานอธิการบดีมีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานด้านบริหารความเสี่ยง ดังนี้
มีการแต่งตั้งคณะกรรมการด้านบริหารความเสี่ยงสำนักงานอธิการบดี (1.4-1(1)) โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ประกอบด้วย รองอธิการบดี และ ผู้ช่วยอธิการบดี กำกับดูแลหน่วยงานภายใต้สำนักงานอธิการบดีเป็นที่ปรึกษาในการจัดทำแผน ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดีเป็นประธานกรรมการ รองผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี ผู้อำนวยการกองนโยบายและแผน และหัวหน้างานภายใต้สำนักงานอธิการบดีเป็นคณะกรรมการ ผู้อำนวยการกองกลางเป็นกรรมการและเลขานุการ หัวหน้างานบริหารทั่วไปและเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปเป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ เพื่อทำหน้าที่จัดทำแผนบริหารความเสี่ยง
| |
✓ | 2 | มีการประเมินโอกาส ผลกระทบของความเสี่ยง และจัดลําดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2 โดยระบุไว้ในแผนบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน และแผนบริหารความเสี่ยงจะต้องผ่านการอนุมัติเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําหน่วยงาน | ๒. สำนักงานอธิการบดีมีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยงและปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง จากปัจจัยภายในและภายนอกหน่วยงาน ดังนี้
มีการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงสำนักงานอธิการบดี ครั้งที่ 2/2565 วาระที่ 5.1 (1.4–2(1)) เพื่อ (ยกร่าง) แผนบริหารความเสี่ยงสำนักงานอธิการบดี (1.4–2(2)) โดยร่วมกันวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงจากภายในและภายนอกที่ครอบคลุมพันธกิจของหน่วยงาน โดยมีประเด็นความเสี่ยงตามแผน จำนวน 3 ประเด็น แบ่งเป็นประเด็นด้านกลยุทธ์ ประเด็นด้านการเงิน และประเด็นด้านการปฏิบัติงาน ดังนี้
ความเสี่ยง
|
ปัจจัยเสี่ยง
|
R1. มาตรการส่งเสริมให้บุคลากรสายสนับสนุนเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
|
ปัจจัยภายใน
-บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการขอตำแหน่งที่สูงขึ้น
-บุคลากรส่งเอกสารล่าช้าเกินกำหนดระยะเวลา
|
R2. มาตรฐานหลักสูตรที่มีการเปลี่ยนแปลง
|
ปัจจัยภายใน
-ผู้บริหารและบุคลากรขาดความรู้ในการปรับปรุงหลักสูตรแบบ OBE
-ระบบและกลไกด้านการประกันคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตรให้รองรับกับการเปลี่ยนแปลงตามมาตรฐานหลักสูตร
|
R3. การเบิกจ่ายเงินล่าช้าให้กับหน่วยงานภานในมหาวิทยาลัย ร้านค้า และบุคลากรภายนอกมหาวิทยาลัย
|
ปัจจัยภายใน
-ฐานข้อมูลบัญชีเงินฝากธนาคารไม่ถูกต้อง
-การละเลยการตรวจสอบรายงานการโอนเงินจากระบบ KTB-Corporate Online กับเอกสารการเบิกจ่ายให้กับผู้รับเงิน
|
| |
✓ | 3 | มีแผนการดําเนินงานหรือโครงการ/กิจกรรมในการบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูงหรือความเสี่ยง ที่หน่วยต้องเร่งดําเนินการด่วน และบอกได้ถึงวิธีการจัดการความเสี่ยงที่ทําให้ความเสี่ยงในประเด็นต่างๆ มีระดับความเสี่ยงลดลงอย่างน้อย 1 เรื่อง | 3. สำนักงานอธิการบดีมีการประเมินโอกาส ผลกระทบของความเสี่ยง และจัดลำดับ ความเสี่ยง ดังนี้
3.1 มีการจัดประชุมรายงานการประชุมรายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงสำนักงานอธิการบดี ครั้งที่ 2/2565 ลงวันที่ 9 พฤศจิกายน 2565 วาระที่ 5.2 (1.4–3(1)) เพื่อร่วมกันประเมินโอกาส ผลกระทบของความเสี่ยง และจัดลำดับความเสี่ยง โดยระบุไว้ในแผนบริหารความเสี่ยงสำนักงานอธิการบดี พบว่า มีประเด็นความเสี่ยง จำนวน 3 ประเด็น โดยเรียงระดับความเสี่ยงจากมากไปหาน้อยที่เกิดจากผลการประเมินโอกาส และ ผลกระทบ ได้ดังนี้
ความเสี่ยง
|
โอกาส
|
ผลกระทบ
|
ระดับความเสี่ยง
|
R๑. มาตรการส่งเสริมให้บุคลากรสายสนับสนุนเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
|
5
|
5
|
25
|
R2. มาตรฐานหลักสูตรที่มีการเปลี่ยนแปลง
|
4
|
5
|
20
|
R3. การเบิกจ่ายเงินล่าช้าให้กับหน่วยงานภานในมหาวิทยาลัย ร้านค้า และบุคลากรภายนอกมหาวิทยาลัย
|
5
|
5
|
25
|
๓.๒ แผนบริหารความเสี่ยงสำนักงานอธิการบดี (1.4–3(2)) ผ่านความเห็นชอบตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักงานอธิการบดี ครั้งที่ 9/2565 ลงวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ.2565 วาระที่ 5.1 (1.4–3(3))
| |
✓ | 4 | มีการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานผลตามระยะเวลา ที่กําหนดในรอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน เสนอต่อคณะผู้บริหารได้รับทราบและพิจารณาข้อคิดเห็น หรือ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาร่วมกัน | 4. สำนักงานอธิการบดีมีแผนการดําเนินงานหรือโครงการ/กิจกรรมในการบริหารความเสี่ยงสำนักงานอธิการบดี, เพื่อให้ลดระดับความเสี่ยงลดลงครบทั้ง 3 เรื่อง ดังนี้
4.1 มีการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักงานอธิการบดี ครั้งที่ 1/2566 ลงวันที่ 19 มกราคม 2566 วาระอื่น ๆ (1.4–4 (1)) เพื่อร่วมกันจัดการความเสี่ยงของสำนักงานอธิการบดีใน 3 ประเด็น โดยระบุไว้ในแผนบริหารความเสี่ยงสำนักงานอธิการบดี (1.4-4(2))
4.2 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงสำนักงานอธิการบดี เพื่อกำกับติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงสำนักงานอธิการบดี (1.4-4(3)) พบว่า มีประเด็นความเสี่ยงตามแผน จำนวน 3 ประเด็น
| |
✓ | 5 | มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทํางานด้านบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน
โดยมีผู้บริหารสูงสุด หรือตัวแทนผู้บริหารของหน่วยงานเป็นประธานในคําสั่ง และมีบุคลากรร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทํางาน โดยมีการกําหนดบทบาทหน้าที่ และระบบกลไกหรือกระบวนการทํางานของคณะกรรมการอย่างชัดเจน
| 5. สำนักงานอธิการบดีมีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงสำนักงานอธิการบดี มีระดับความเสี่ยงลดลงอย่างน้อย ๑ เรื่อง ดังนี้
5.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงสำนักงานอธิการบดี (1.4-5(1)) เพื่อทำหน้าที่บริหารความเสี่ยงในประเด็นความเสี่ยงตามแผน จำนวน 3 ประเด็น
5.2 มีการจัดทำรายงานผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงสำนักงานอธิการบดี (1.4-5(2)) เสนอต่อคณะกรรมการบริหารสำนักงานอธิการบดี ครั้งที่ 4/2566 ลงวันที่ 19 มิถุนายน 2566 วาระที่ 5.1 (1.4-5(3)) พบว่า มีประเด็นความเสี่ยงตามแผน จำนวน 3 เรื่อง และสามารถระดับความเสี่ยงลดลง จำนวน 3 เรื่อง ส่งผลให้บรรลุเป้าหมาย ดังนี้
ความเสี่ยง
|
โอกาส
|
ผลกระทบ
|
ระดับความเสี่ยง
|
R1. มาตรการส่งเสริมให้บุคลากรสายสนับสนุนเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
|
3
|
3
|
9
|
R2. มาตรฐานหลักสูตรที่มีการเปลี่ยนแปลง
|
2
|
3
|
6
|
R3. การเบิกจ่ายเงินล่าช้าให้กับหน่วยงานภานในมหาวิทยาลัย ร้านค้า และบุคลากรภายนอกมหาวิทยาลัย
|
3
|
3
|
9
|
| |
✓ | 6 | มีการนําผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากหน่วยงานตนเองและหน่วยตรวจสอบภายในไปใช้ในการ ปรับแผนหรือวิเคราะห์ความเสี่ยงในรอบปีถัดไป และให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของการดําเนินงาน ตามปกติอย่างต่อเนื่อง | 6. สำนักงานอธิการบดีมีการนําผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากหน่วยงานตนเองหรือหน่วยงานตรวจสอบภายในไปใช้ในการปรับแผนบริหารความเสี่ยง ดังนี้
มีการจัดทำรายงานผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงสำนักงานอธิการบดี (1.4-6(1)) เสนอต่อคณะกรรมการบริหารสำนักงานอธิการบดี ครั้งที่ 4/2566 ลงวันที่ 19 มิถุนายน 2566 วาระที่ 5.1 (1.4-6(2)) ซึ่งคณะกรรมการรับทราบและพิจารณา โดยจะนำข้อเสนอแนะ ดังกล่าว มาปรับในแผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ 2567 ต่อไป
| |