ตัวบ่งชี้ที่ 1.7 ระบบกลไกการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงาน

ปีที่ประเมิน 2565
ผู้ดูแลตัวบ่งชี้ : เจริญศรี ธรรมนิยม
ชนิดตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
คำอธิบายตัวบ่งชี้

กํากับติดตามผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีระบบงานและสมรรถนะที่สอดคล้องและนําไปสู่การบรรลุพันธกิจ ให้เป็นไปตามแผนและแนวทางของตําแหน่งงานที่กําหนด รวมทั้งติดตามตรวจสอบเป็นรายบุคคล เพื่อการส่งเสริมสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งสร้างความผูกพันเพื่อช่วยส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิผลและเต็มความสามารถ มีความมุ่งมั่นและเต็มใจใน การปฏิบัติงานเพื่อให้หน่วยงานประสบความสําเร็จ

เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 หรือ 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
เกณฑ์มาตรฐาน
ระดับ เกณฑ์มาตรฐาน ดำเนินการ
1 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่มีช่วยส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิผลและเต็มความสามารถ
2 มีการพัฒนาบุคลากรให้เป็นไปตามแผนที่กําหนด
3 มีการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี หรือสร้างขวัญและกําลังใจการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4 มีกำกับและการติดตามให้บุคลากรนําความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง
5 มีการประเมินผลความสําเร็จของแผนการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงาน
6 มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงาน
ผลการดำเนินงาน
ตนข้อเกณฑ์ผลการดำเนินงานหลักฐาน
1มีแผนพัฒนาบุคลากรที่มีช่วยส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิผลและเต็มความสามารถ

1. มีแผนพัฒนาบุคลากรที่ช่วยส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิผลและ
เต็มความสามารถ

สำนักงานอธิการบดี มีการจัดทำแผนบริหารและแผนพัฒนาบุคลากร สำนักงานอธิการบดี ระยะ
5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566-2570 โดยเชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตร์จากแผนกลยุทธ์ สำนักงานอธิการบดี ระยะ 5 ปี  (พ.ศ. 2566-2570)  ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของมหาวิทยาลัย และ
มีแผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรที่ช่วยส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิผลและเต็มความสามารถ ซึ่งมีกระบวนการดำเนินการ ดังนี้

                   1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากร สำนักงานอธิการบดี
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ตามคำสั่งที่ 1710/2565 ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2565 (1.7-1(1)) ประกอบด้วยบุคคล ดังนี้   1. ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี เป็นประธานคณะกรรมการ

                2. หัวหน้างาน หัวหน้าฝ่าย สังกัดสำนักงานอธิการบดี เป็นกรรมการ

                3. ผู้อำนวยการกองกลาง/หัวหน้างานบริหารบุคคล เป็นกรรมการและเลาขานุการ

โดยมีหน้าที่ทบทวนและจัดทำแผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรสำนักงานอธิการบดี ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) และแผนประจำปีงบประมาณ กำกับ ติดตามผลการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากร

                   1.2  ประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากร สำนักงานอธิการบดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 1/2565 (1.7-1(2)) เพื่อยกร่างแผนพัฒนาบุคลากร สำนักงานอธิการบดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยวิเคราะห์สภาพแวดล้อม จุดแข็ง จุดอ่อนและกำหนดโครงการ/กิจกรรมตามแผน จำนวน 7 โครงการ และได้รับจัดสรรงบประมาณจำนวนทั้งสิ้น 253,820 บาท

                   1.3 นำเสนอแผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากร สำนักงานอธิการบดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (1.7-1(3)) ต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (ก.บ.) ครั้งที่ 10/2565 ลงวันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 โดยที่ประชุมมีมติให้ความเห็นชอบ (1.7-1(4))

2มีการพัฒนาบุคลากรให้เป็นไปตามแผนที่กําหนด

2. มีการพัฒนาบุคลากรให้เป็นไปตามแผนที่กำหนด

                   ตามแผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากร สำนักงานอธิการบดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยกำหนดโครงการ/กิจกรรมไว้ตามแผน จำนวน 7 โครงการ โดยผู้รับผิดชอบได้ดำเนินการแล้วเสร็จ ทั้ง 7 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 
โดยมีรายละเอียดผลการดำเนินการ ดังนี้

ชื่อโครงการ

ผลการดำเนินงาน

1. โครงการปฐมนิเทศบุคลากรบรรจุใหม่

    งานบริหารบุคคล จัดโครงการปฐมนิเทศบุคลากรบรรจุใหม่ ครั้งที่ 1/2566 เพื่อให้บุคลากรที่บรรจุใหม่ได้มีความพร้อมและมีความเข้าใจในการปฏิบัติหน้าที่ โดยดำเนินการในระหว่างวันที่ 7 – 8 กุมภาพันธ์ 2566 ณ ห้องถนอม อินทรกำเนิด ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาการอเนกประสงค์ บุญชง วีสมหมาย (ศรีพฤทธาลัยราชภัฏสัมมนาคาร) และห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา (สธ.) ซึ่งได้กำหนดตัวชี้วัดของโครงการ จำนวน 2
ตัวชี้วัด บรรลุเป้าหมาย 2 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 100 ดังนี้

     1. กลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ในโครงการ จำนวน 17 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการจริง 17 คน คิดเป็นร้อยละ 100

     2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3.51 จากการเข้าร่วมโครงการ มีระดับความรู้ความเข้าใจเฉลี่ย 4.72 อยู่ในระดับมากที่สุด

2. โครงการพัฒนากระบวนการทำงานสู่ความเป็นเลิศด้วยเกณฑ์ EdPEx จัดทำโครงร่างองค์กรและแผนพัฒนาคุณภาพ

 

 

 

 

 

 

3. โครงการพัฒนาศักยภาพหน่วยตรวจสอบภายใน

 

 

 

 

 

4. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนผลงานวิชาการเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งสูงขึ้น (ผลงานเชิงวิเคราะห์และผลงานเชิงสังเคราะห์”

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

5. โครงการอบรมเสริมสร้าง
จิตบริการและการทำงานเป็นทีมสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศ

 

 

 

 

6. โครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ปี 2566

 

 

 

 

7. โครงการสวัสดีปีใหม่หลอมดวงใจ ชาวขาว-ทอง

 

 

 

 

 

 

 

     หน่วยมาตรฐานละงานประกันคุณภาพการศึกษา ได้จัดโครงการฯ เมื่อวันที่ 13 - 15 มีนาคม 2566 ณ ห้องประชุมสุขวิช รังสิตพล ชั้น 3 ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพอเนกประสงค์ บุญชง วีสมหมาย (ศรีพฤทธาลัย ราชภัฏสัมมนาคาร) มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ โดยมีการกำหนดตัวชี้วัดของโครงการ จำนวน 4 ตัวชี้วัด บรรลุเป้าหมาย 4 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 100 ดังนี้

ผล KPI.1  กลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ในโครงการ จำนวน 70 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการจริง จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 91.43

ผล KPI.2  ผู้เข้ารับการอบรมที่เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 64 คน มีผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 58 คน มีระดับความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการ เฉลี่ย 4.59
(ระดับพอใจดีมากที่สุด)

ผล KPI.3  จำนวนผู้ที่เข้ารับการอบรม จำนวน 64 คน ผู้ที่ผ่านการอบรม จำนวน 62 คน คิดเป็นร้อยละ 96.88

ผล KPI.4  สามารถจัดทำโครงร่างองค์กร และผนพัฒนาคุณภาพ ได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์ EdPEx จำนวน 12 ผลงาน

 

           หน่วยตรวจสอบภายใน ได้เข้าร่วมการอบรมโครงการบริการวิชาการหลักสูตร “ผู้ตรวจสอบภายในมืออาชีพ” รุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 18– 19 พฤษภาคม 2566 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานตรวจสอบภายในและวิธีการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมของผู้ตรวจสอบภายในของหน่วยงานภาครัฐ ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ บางพลัด กรุงเทพมหานคร โดยมีการกำหนดตัวชี้วัดของโครงการ จำนวน 2 ตัวชี้วัด บรรลุเป้าหมาย 2 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 100 ดังนี้

      1. บุคลากรหน่วยตรวจสอบภายในจำนวน 4 คน ได้เข้ารับการอบรม สัมมนา ประชุม ศึกษาดูงานจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 100

      2. บุคลากรของมหาวิทยาลัยฯ ที่เข้ามาใช้บริการได้รับบริการให้คำปรึกษามีระดับความพึงพอใจต่อการต่อการเข้าร่วมโครงการเฉลี่ย 4.04 (ระดับมากที่สุด)

 

          งานบริหารบุคคล จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนผลงานวิชาการเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งสูงขึ้น (ผลงานเชิงวิเคราะห์และผลงานเชิงสังเคราะห์” เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนผลงานวิชาการ เพื่อขอกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น และสามารถเขียนผลงานวิชาการเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งสูงขึ้น โดยดำเนินการในวันที่ 16 มีนาคม 2566 ณ ห้องประชุมถนอม อินทรกำเนิด ชั้น 2 ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาการอเนกประสงค์ บุญชงวีสมหมาย ราชภัฏสัมมนาคาร มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ โดยมีการกำหนดตัวชี้วัดของโครงการ จำนวน 2 ตัวชี้วัด บรรลุเป้าหมาย 2 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 100 ดังนี้

      1. กลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ จำนวน 45 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการจริง จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 100

      2. ผู้เข้าร่วมโครงการทำผลงาน คู่มือปฏิบัติงาน งานวิจัย ผลงานเชิงสังเคราะห์

 และผลงานเชิงวิเคราะห์ ที่ใช้รองรับการยื่นขอกำหนดระดับตำแหน่งสูงขึ้นของบุคลากรสายสนับสนุน อย่างน้อย 4 ชิ้นงาน ดังนี้

     1. คู่มือปฏิบัติงานหลัก.“การแต่งตั้งข้าราชการและหรือพนักงานมหาวิทยาลัย สายสนับสนุนให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ประเภททั่วไป ประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ

     2. วิเคราะห์ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ประเมินผลงานทางวิชาการและจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ ของผู้กำหนดตำแหน่งทางวิชาการที่ไม่ผ่านการประเมิน สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ   ศรีสะเกษ.ศรีสะเกษ

     3. คู่มือปฏิบัติงานการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

     4. การพัฒนารูปแบบการบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ The development of Participative risk management model in Sisaket Rajabhat University

 

 

        งานบริหารบุคคล ดำเนินการจัดโครงการ การจัดอบรมเสริมสร้างจิตบริการและการทำงานเป็นทีมสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศ ในวันศุกร์ ที่ 17 มีนาคม 2566 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ทราบและตระหนักถึงการสร้างองค์กรแห่งความสำเร็จ ด้วยวิธีการสร้างจิตวิญญาณการทำงานร่วมกันเป็นทีมได้อย่างถูกต้องตรงตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัย ณ ศาลาทม วัดไพรพัฒนา อำเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ โดยมีการกำหนดตัวชี้วัดของโครงการ จำนวน 2 ตัวชี้วัด บรรลุเป้าหมาย 2 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 100 ดังนี้

     1. กลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ จำนวน 39 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการจริง จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 97.43

     2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะจากการเข้าร่วมอบรมระดับคะแนน 3.51 ขึ้นไป ผลการดำเนินงานผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจมีทักษะ มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (=4.04)

      

        งานบริหารบุคคล ดำเนินการจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ปี 2566 ในวันพุธ ที่ 21 มิถุนายน 2566 เพื่อศึกษาสภาวะสุขภาพอนามัยของบุคลากรในมหาวิทยาลัย จากการตรวจสุขภาพประจำปี และเพื่อให้บุคลากรมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ณ ชั้น 1 หน้าห้องบัญชี อาคารเฉลิมพระเกียรติ  80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 โดยมีการกำหนดตัวชี้วัดของโครงการ จำนวน 2 ตัวชี้วัด บรรลุเป้าหมาย 1 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 50 ดังนี้

     1. กลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ จำนวน 270 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการจริง จำนวน 270 คน คิดเป็นร้อยละ 100

      2. บุคลากรมหาวิทยาลัยมีสุขภาพที่ดี แข็งแรงและพร้อมที่จะปฏิบัติหน้าที่ตามภาระหน้า อยู่ระหว่างการรอผลตรวจสุขภาพจากโรงพยายาลค่ายสรรพสิทธิประสงค์

         

         มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ได้จัดทำโครงการส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ในวันศุกร์ที่ 23 ธันวาคม 2565 โดยในภาคเช้าจัดกิจกรรมทำบุญตักบาตร ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ณ วัดป่าศรัทธาธรรม และภาคค่ำจัดกิจกรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เพื่อสืบทอดและสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีอันดีงามและเพื่อสร้างความรัก ความสามัคคี สร้างขวัญและกำลังใจแก่บุคลากรมหาวิทยาลัยณ บริเวณหลังอาคารคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ศรีสะกษ โดยมีการกำหนดตัวชี้วัดของโครงการ จำนวน 2 ตัวชี้วัด บรรลุเป้าหมาย 2 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 100 ดังนี้   

       1. กลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ จำนวน 520 คน มีบุคลากรเข้าร่วมโครง การ 520 คน คิดเป็นร้อยละ 100

       2. ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 520 คน ตอบแบบสอบถามมีระดับความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการ เฉลี่ย 3.70 (ระดับดีมาก)

3มีการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี หรือสร้างขวัญและกําลังใจการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. มีการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญและกำลังใจการทำงานได้อย่างประสิทธิภาพ

มีการออกประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เรื่อง หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินช่วยเหลือสวัสดิการ บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ  พ.ศ. 2560 (ฉบับที่ 2) เป็นแนวทางในการดำเนินการ โดยมีกระบวนการกิจกรรม ดังนี้

                   3.1 การสร้างเสริมสุขภาพที่ดีให้แก่บุคลากร โดยมีการจัดโครงการตรวจสุขภาพบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประจำปี พ.ศ. 2566 1.7-3(1)

                   3.2 การสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานให้แก่บุคลากร ได้มอบสวัสดิการให้กับบุคลากรสำนักงานอธิการบดี ในด้านต่าง ๆ ดังนี้

                             1. สวัสดิการสมรส ราย ๆ ละ 2,000 บาท

                             2. สวัสดิการคลอดบุตร จำนวน 3 ราย ๆ ละ 2,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 6,000 บาท

 3. สวัสดิการงานฌาปนกิจศพ จำนวน 5 ราย ๆ ละ 2,000 บาท รวมเป็นเงิน ทั้งสิ้น 10,000 บาท

                             4. สวัสดิการการรักษาพยาบาล 15 ราย

                             5. สวัสดิการค่าการศึกษาบุตร

                             6. สวัสดิการบ้านพัก  จำนวน 68 หลัง จำนวน 18 คน

4มีกำกับและการติดตามให้บุคลากรนําความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง

4. มีกำกับและการติดตามให้บุคลากรนำความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง

สำนักงานอธิการบดี ได้มีการจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนผลงานวิชาการเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งสูงขึ้น (ผลงานเชิงวิเคราะห์และผลงานเชิงสังเคราะห์)” (1.7-4(1)) ในวันที่ 16 มีนาคม 2566 ณ ห้องประชุมถนอม อินทรกำเนิด ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาการณ์อเนกประสงค์ บุญชง วีสมหมาย มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 45 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรมโครงการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (= 4.44) หลังจากดำเนินโครงการฯ เสร็จสิ้น มีบุคลากรจัดส่งคู่มือปฏิบัติงาน งานวิจัย ผลงานเชิงสังเคราะห์ และผลงานเชิงวิเคราะห์ ที่ใช้รองรับการยื่นขอกำหนดระดับตำแหน่งสูงขึ้นของบุคลากรสายสนับสนุน จำนวน  4 ชิ้นงาน ดังนี้

           1. จรัส โนนกอง.2565.คู่มือปฏิบัติงานหลัก.“การแต่งตั้งข้าราชการและหรือพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ประเภททั่วไป ประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ”.ศรีสะเกษ : มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 53 หน้า (1.7-4(2))

           2. จรัส โนนกอง.2566. วิเคราะห์ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ประเมินผลงานทางวิชาการและจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ ของผู้กำหนดตำแหน่งทางวิชาการที่ไม่ผ่านการประเมิน สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.ศรีสะเกษ : มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 56 หน้า(1.7-4(3))

          3. มานะศักดิ์ หงส์คำชัย.2565.คู่มือปฏิบัติงานการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.ศรีสะเกษ : มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 101 หน้า (1.7-4(4))

          4. มานะศักดิ์ หงส์คำชัย.2565.การพัฒนารูปแบบการบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ The development of Participative risk management model in Sisaket Rajabhat University.ศรีสะเกษ :มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 106 หน้า(1.7-4(5)) 

5มีการประเมินผลความสําเร็จของแผนการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงาน

5. มีการประเมินผลความสำเร็จของแผนการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงาน

          สำนักงานอธิการบดี มีผลการดำเนินงานกิจกรรมโครงการตามแผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากร สำนักงานอธิการบดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 พบว่า มีการกำหนดกิจกรรมไว้ในแผน จำนวน 7 โครงการ ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 7 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 100
มีผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของแผน พบว่า มีการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของแผนไว้ จำนวน 5 ตัวชี้วัด บรรลุเป้าหมาย จำนวน 4 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 80.00 ไม่บรรลุเป้าหมาย จำนวน 1 ตัวชี้วัด คิดเป็ยร้อยละ 20.00 ตัวชี้วัดที่ไม่บรรลุเป้าหมาย ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น แต่ทั้งนี้ตามแผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากร สำนักงานอธิการบดี เป็นแผนที่มีกรอบระยะเวลาจนถึงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (30 กันยายน 2566) ซึ่งอาจจะมีข้อมูลผลการดำเนินการเปลี่ยนแปลงได้ในตัวชี้วัดที่ 4 เนื่องจาก
มีบุคลากรของสำนักงานอธิการบดี อยู่ระหว่างการยื่นผลงานเพื่อขอแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น โดยมีรายละเอียด ดังนี้

 

ตัวชี้วัด

ค่าเป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

การบรรลุเป้าหมาย

1. ร้อยละบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาความรู้ทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2. จำนวนบุคลากรที่เป็นวิทยากรจากหน่วยงานภายในและภายนอก

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3.จำนวนผลงานวิชาการที่จัดทำของบุคลากรในสังกัด

 

 

 

 

 

 

 

 

4. ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น

 

 

 

 

 

 

5. จำนวน/กิจกรรมที่สร้างขวัญและกำลังใจให้บุคลากร

 

 

  ร้อยละ 10

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 ร้อยละ 10

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4 ชิ้นงาน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ร้อยละ 2

 

 

 

 

 

 

2 กิจกรรม/โครงการ

      ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ จำนวน 15 คน จากจำนวนบุคลากรสำนักงานอธิการบดีทั้งหมด 102 คน คิดเป็นร้อยละบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาความรู้ทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน ร้อยละ 14.70 ดังรายชื่อต่อไปนี้

 1. นายสะอาด ศิริโชติ ผู้อำนวยการกองนโยบายและแผน

 2. นายบุญชู นามบุรี รองผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี

 3. นายจรัส โนนกอง ผู้อำนวยการกองกลาง

 4. นางสาวบุณฑริการ์ บุญกันหา กองนโยบายและแผน

 5. นางสาวเจนจิรา บุดดาวงศ์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย

 6. นางศุภากร ปานเทวัญ งานประชุมและพิธีการ

 7. นางสาววนิดา วรรณทวี งานบริหารบุคคล

 8. นางเพ็ญพักตร์ สุมณฑา หัวหน้างานพัฒนานักศึกษา

 9. นายสาคร ผมพันธ์ งานพัฒนานักศึกษา

 10. นายสมจิตร เทพธานี กองนโยบายและแผน

 11. นางสาวพัทธ์ธีรา เสาร์ชัย หัวหน้างานคลัง

 12. นางสาวมลนภา ศรีเยาะ งานคลัง

 13. นายธงชัย เดชแสง หัวหน้าฝ่ายวินัยและจราจร

 14. นางรุ่งนภา ศิรวงศ์เดชา หัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน

 15. นางสาววีรยาพร ทรัพย์ทรงพล  หน่วยตรวจสอภายใน

 

        บุคลากร สังกัดสำนักงานอธิการบดี ได้รับเชิญเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อต่าง ๆ จากหน่วยงานภายในและภายนอก จำนวน 10 คน ดังนี้

    1. นายจรัส โนนกองบุคลากรปฏิบัติการ งานบริหารบุคคล เป็นวิทยากรบรรยายหัวข้อ “การเตรียมความพร้อมก่อนยื่นขอกำหนดตำแหน่งสูงขึ้นของบุคลากรสายสนับสนุน”

    2. นางประณีตศิลป์  โตมร ตำแหน่ง นักวิชาการเงินและบัญชี งานคลัง เป็นวิทยากรบรรยายหัวข้อ “การยืมเงินราชการและเงินทดรองจ่าตามระเบียบกระทรวงการคลัง

    3. นางศรีสุดา จันทร ตำแหน่ง นักวิชาการพัสดุงานพัสดุเป็นวิทยากรบรรยายหัวข้อ “ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยงานพัสดุในการจัดซื้อจัดจ้าง

   4. นายมานะศักดิ์ หงษ์คำชัย นักวิชาการศึกษาชำนาญการ เป็นวิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ  “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับการพัฒนานักศึกษา

   5. นายสะอาด ศิริโชติ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการกองนโยบายและแผนเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อการบริหารโครงการ

    6. นางสาวสุปราณี สมคะเน ตำแหน่งนักประชาสัมพันธ์ เป็นวิทยากรบรรยายในโครงการส่งเสริมผลักดันสินค้าและบริการออกสู่ตลาดผ่านช่องทางการจัดจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้แก่ประชาชน

    7. นางสาวจินตนา แสงแก้ว ตำแหน่งนักประชาสัมพันธ์ เป็นวิทยากรบรรยายในโครงการส่งเสริมผลักดันสินค้าและบริการออกสู่ตลาดผ่านช่องทางการจัดจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้แก่ประชาชน

    8. นางสาวพรทิพย์ พรรษา นิติกรปฏิบัติการ งานบริหารบุคคล เป็นวิทยากรบรรยายหัวข้อ  “ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่”

    9. นางสาวอัจจิมา แย้มบู่ นิติกรปฏิบัติการ งานบริหารบุคคล เป็นวิทยากรบรรยายหัวข้อ “วินัยและการดำเนินการทางวินัย”

    10. นายอรรณพ สังฆพรหม นักวิชาการเงินและบัญชี งานคลังเป็นวิทยากรบรรยายหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงินค่ากิจกรรมนักศึกษา ตามระเบียบ พ.ศ. 2560”

     

     บุคลากร สังกัดสำนักงานอธิการบดี ได้จัดทำผลงานวิชาการ ประกอบไปด้วย ปฏิบัติงานหลัก งานวิจัย ผลงานเชิงสังเคราะห์และผลงานเชิงวิเคราะห์ เพื่อใช้รองรับในการยื่นขอกำหนดตำแหน่งที่สูงขึ้น จำนวน 4 ชิ้นงาน ดังนี้

          จรัส โนนกอง.2565.คู่มือปฏิบัติงานหลัก.“การแต่งตั้งข้าราชการและหรือพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ประเภททั่วไป ประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ”. ศรีสะเกษ : มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 53 หน้า

          จรัส โนนกอง.2566. วิเคราะห์ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ประเมินผลงานทางวิชาการและจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ ของผู้กำหนดตำแหน่งทางวิชาการที่ไม่ผ่านการประเมิน สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.ศรีสะเกษ : มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 56 หน้า

           มานะศักดิ์ หงส์คำชัย.2565.คู่มือปฏิบัติงานการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.ศรีสะเกษ : มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 101 หน้า

           มานะศักดิ์ หงส์คำชัย.2565.การพัฒนารูปแบบการบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ The development of Participative risk management model in Sisaket Rajabhat University.ศรีสะเกษ :มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 106 หน้า

 

       บุคลากร สังกัดสำนักงานอธิการบดี ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 2 คน จากจำนวนบุคลากรสำนักงานอธิการบดีทั้งหมด 102 คน คิดเป็นร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้นร้อยละ 1.96 และมีรายชื่อผู้ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ดังนี้

       1. นางสาวสุลัดดา พุฒพิมาย ตามมติสภามหาวิทยาลัย ในการประชุมครั้งที่ 4/2566 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2566 คำสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ที่ 1315/2566 เรื่องแต่งตั้งพนักงานมหาวิทยาลัย กลุ่มพนักงานสายสนับสนุนให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2566 จากตำแหน่ง นักวิชาการศึกษา ระดับปฏิบัติการ เป็นตำแหน่ง นักวิชาการศึกษา ระดับชำนาญการ

         2. นายมานะศักดิ์ หงษ์คำชัย ตามมติสภามหาวิทยาลัย ในการประชุมครั้งที่ 4/2566 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2566 คำสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษที่ 1317/2566 เรื่องแต่งตั้งพนักงานมหาวิทยาลัย กลุ่มพนักงานสายสนับสนุนให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2566 จากตำแหน่ง นักวิชาการศึกษา
ระดับปฏิบัติการ เป็นตำแหน่ง นักวิชาการศึกษา ระดับชำนาญการ

        สำนักงานอธิการบดี ได้จัดโครงการ/กิจกรรม ที่สร้างขวัญและกำลังใจให้กับบุคลากร ดังนี้

     1. โครงการประชุมสามัญประจำภาคเรียนที่ 1/2566 จัดขึ้นในวันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม 2566 ณ ห้องประชุมศรีพฤทเธศวรเธียเตอร์ ศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรม
อาคารเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เวลา 08.30 – 16.30 น. โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้บริหารได้แจ้งข้อราชการ
รวมทั้งให้บุคลากรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสานการทำงานร่วมกันและเพื่อเป็นขวัญกำลังใจแก่บุคลากร ในโครงการดังกล่าวได้มีพิธีมอบ
ช่อดอกไม้แสดงความยินดีกับบุคลากร
สำนักงานอธิการบดีที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ราย
นางสุภัทตรา อ่อนศรี นักวิชาการเกษตรชำนาญ

     2. โครงการส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ จัดขึ้นในวันศุกร์ที่ 23 ธันวาคม 2565 โดยมีวัตถุประสงค์ให้เพื่อสืบทอดและสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีอันดีงาม และเพื่อสร้างความรัก ความสามัคคี สร้างขวัญและกำลังใจแก่บุคลากรมหาวิทยาลัย มีกิจกรรมทำบุญตักบาตร ณ วัดป่าศรัทธาธรรม โดยคณะผู้บริหาร อาจารย์ บุคลากรร่วมพิธีทำบุญตักบาตรพระสงฆ์ จำนวน 6 รูป เพื่อสืบสานประเพณีวัฒนธรรมไทยและเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว และภาคค่ำจัดกิจกรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ให้บุคลกรได้ร่วมจับของรางวัลและรับประทานอาหารร่วมกัน ณ บริเวณหลังอาคารคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

 

บรรลุ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

บรรลุ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

บรรลุ

 

 

 

 

 

 

 

ไม่บรรลุ

 

 

 

 

 

 

 

 

บรรลุ

 

                                             สำนักงานอธิการบดี มีการจัดทำรายงานประเมินผลความสำเร็จของแผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลกร สำนักงานอธิการบดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (1.7-5(1)) เสนอต่อคณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร สำนักงานอธิการบดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 1/2566 (1.7-5(2)) เพื่อรับทราบและพิจารณาให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนา โดยมีข้อเสนอแนะ จำนวน 2 เรื่อง ดังนี้

             1. การกำหนดค่าเป้าหมายในแต่ละโครงการ ควรกำหนดให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของแผนบริหารและพัฒนาบุคลากร สำนักงานอิการบดี ระยะ 5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ 2566-2570 เพื่อจะสามารถวัดผลการประเมินในแต่ละตัวชี้วัดได้

             2. การเขียนรายงานผลการดำเนินงานและประเมินความสำเร็จของแผนให้เพิ่มรายละเอียดช่องข้อมูลผลผลิตค่าเป้าหมาย

6มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงาน

6. มีการนำผลประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงาน

                                          จัดทำรายงานผลการประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนาบุคลากร สำนักงานอธิการบดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (1.7-6(1)) เสนอต่อคณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร สำนักงานอธิการบดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ในศุกร์ที่ 16 มิถุนายน 2566 ครั้งที่ 2/2566 พบว่า มีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนา จำนวน 2 ประเด็น หน่วยงานจึงได้จัดทำแผนการปรับปรุงคุณภาพ โดยกำหนดแนวทางการปรับปรุงพัฒนา ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินงาน และผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน
โดยมีรายละเอียด ดังนี้

ข้อเสนอแนะ

แนวทางการปรับปรุง

ระยะเวลาดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1. การกำหนดค่าเป้าหมายในแต่ละโครงการ ควรกำหนดให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของแผนบริหารและพัฒนาบุคลากร สำนักงานอิการบดี ระยะ 5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ 2566-2570 เพื่อจะสามารถวัดผลการประเมินในแต่ละตัวชี้วัดได้

2. การเขียนรายงานผลการดำเนินงานและประเมินความสำเร็จของแผนให้เพิ่มรายละเอียดช่องข้อมูลผลผลิต ค่าเป้าหมาย

1. การปรับปรุง :

(    ) ปรับปรุงกระบวนการ

(    ) ปรังปรุงโครงการ

( / ) ปรับปรุงแผน

 - กำหนดค่าเป้าหมายของโครงการให้เชื่อมโยงตัวชี้วัดของแผนบริหารและพัฒนาบุคลากร สำนักงานอิการบดี ระยะ 5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ 2566-2570

 - สรุปผลการดำเนินโครงการ เพิ่มข้อมูลผลผลิตของค่าเป้าหมาย

2. การดำเนินงาน :

(    ) ดำเนินการแล้ว

(  / ) อยู่ระหว่างดำเนินการ

    มีการยก (ร่างแผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากร สำนักงานอธิการบดีประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

 (    ) ยังไม่ดำเนินการ

สิงหาคม - กันยายน 2566

คณะกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการพัฒนา
บุคลากร สำนักงานอธิการบดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ผลคะแนนการประเมินตนเอง
ทำได้ (ข้อ) ได้คะแนน
6 5