ผลงานทางวิชาการเป็นข้อมูลที่สำคัญในการแสดงให้เห็นว่าอาจารย์ประจำและนักวิจัยได้สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง เป็นผลงานที่มีคุณค่า สมควรส่งเสริมให้มีการเผยแพร่และนำไปใช้ประโยชน์ทั้งเชิงวิชาการและการแข่งขันของประเทศ ผลงานทางวิชาการ อยู่ในรูปของบทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI หรือ Scopus หรือตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2562 ผลงานได้รับการจดอนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตร หรือเป็นผลงานทางวิชาการรับใช้สังคมที่ผ่านการประเมินตำแหน่งทางวิชาการแล้ว ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ ตำราหรือหนังสือที่ใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณาตามเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว โดยมีวิธีการคิด ดังนี้
โดยการแปลงค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยเป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5 เกณฑ์แบ่งกลุ่มตามสาขาวิชาดังนี้
กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่กำหนดไว้เป็น คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่กำหนดไว้เป็น คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่กำหนดไว้เป็น คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป
1. คำนวณค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย
ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย |
--------------------------------------------------------------------------------------------------------- x 100 |
จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยภายในคณะทั้งหมด |
2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5
คะแนนที่ได้ | = | ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย |
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- x 5 | ||
ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 |
คะแนนที่ได้ในระดับคณะ = ค่าเฉลี่ยคะแนนที่ได้ของทุกกลุ่มสาขาวิชาในคณะ
กำหนดระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการดังนี้
ค่าน้ำหนัก | ระดับคุณภาพ |
0.20 |
- บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ |
0.40 | - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ - มีการยื่นจดสิทธิบัตร |
0.60 | - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจาก การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ที่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ตามประกาศ ก.พ.อ. - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ ที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 - มีการจดแจ้งลิขสิทธิ์ |
0.80 | - ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ. หรือตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 |
1.00 |
- บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ ระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2562 ผลงานวิชาการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ผลงานวิชาการเพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม กรณีศึกษา ตำราหรือหนังสือหรืองานแปล ซอฟต์แวร์ พจนานุกรม สารานุกรม นามานุกรม และงานวิชาการในลักษณะเดียวกัน |
หมายเหตุ
1. การส่งบทความเพื่อพิจารณาคัดเลือกให้นำเสนอในการประชุมวิชาการต้องส่งเป็นฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) และ เมื่อได้รับการตอบรับและตีพิมพ์แล้ว การตีพิมพ์ต้องตีพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ซึ่งสามารถอยู่ในรูปแบบเอกสาร หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้
2. ผลงานทางวิชาการทั้งหมดจะต้องได้รับการเผยแพร่ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ พ.ศ. 2560 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
กำหนดระดับคุณภาพผลงานสร้างสรรค์ด้านสุนทรียะ ศิลปะ หรือ ผลงานสร้างสรรค์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดังนี้
ค่าน้ำหนัก | ระดับคุณภาพ |
0.20 | ผลงานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ online |
0.40 | ผลงานสร้างสรรค์ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบัน |
0.60 | ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ |
0.80 | ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ |
1.00 | ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน/นานาชาติ |
ผลงานสร้างสรรค์ทุกชิ้นต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการที่มีองค์ประกอบ ไม่น้อยกว่า 3 คน โดยมีบุคคลภายนอกสถาบันร่วมพิจารณาด้วย
ผลการดำเนินงาน
คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ มีจำนวนอาจารย์ประจำคณะ ทั้งหมด 36 คน ในปี พ.ศ. 2565 โดยมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์จำนวน 16 เรื่อง ดังหลักฐาน 2.3 - (1) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
ระดับคุณภาพ |
ค่าน้ำหนัก |
จำนวน |
ค่าถ่วงน้ำหนัก |
บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ |
0.20 |
1 |
0.20 |
มีการยื่นจดอนุสิทธิบัตร |
0.20 |
- |
- |
บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ |
0.40 |
- |
- |
มีการยื่นจดสิทธิบัตร |
0.40 |
4 |
1.60 |
บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจาก การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ที่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ตามประกาศ ก.พ.อ. |
0.60 |
- |
- |
บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ ที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 |
0.60 |
6 |
3.60 |
มีการจดแจ้งลิขสิทธิ์ |
0.60 |
- |
- |
ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร |
0.80 |
- |
- |
บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ. หรือตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 |
0.80 |
3 |
2.40 |
บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสาร ทางวิชาการ ระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2562 |
1.00 |
2 |
2.00 |
ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ |
1.00 |
- |
- |
ผลงานค้นพบพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน |
1.00 |
- |
- |
ตำราหรือหนังสือหรืองานแปลที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งทางวิชาการ แต่ไม่ได้นำมาขอรับการประเมินตำแหน่งทางวิชาการ |
1.00 |
- |
- |
ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร |
1.00 |
- |
- |
ระดับคุณภาพ |
ค่าน้ำหนัก |
จำนวน |
ค่าถ่วงน้ำหนัก |
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์ การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว ได้แก่ - ผลงานวิชาการเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม - ผลงานวิชาการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการเรียนรู้ - ผลงานวิชาการเพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะ - ผลงานวิชาการรับใช้สังคม - กรณีศึกษา - ตำราหรือหนังสือหรืองานแปล - ซอฟต์แวร์ - พจนานุกรม สารานุกรม นามานุกรม และงานวิชาการในลักษณะเดียวกัน |
0.20 |
- |
- |
รวม |
3.00 |
16 |
9.80 |
หมายเหตุ
1. การส่งบทความเพื่อพิจารณาคัดเลือกให้นำเสนอในการประชุมวิชาการต้องส่งเป็นฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) และ เมื่อได้รับการตอบรับและตีพิมพ์แล้ว การตีพิมพ์ต้องตีพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ซึ่งสามารถอยู่ในรูปแบบเอกสาร หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้
2. ผลงานทางวิชาการทั้งหมดจะต้องได้รับการเผยแพร่ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ พ.ศ. 2560 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
สูตรการคํานวณ
1. คำนวณค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย
ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย x 100
จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยทั้งหมด
= 9.80 X100
36
= 27.22 %
2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5
คะแนนที่ได้ = ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการงอาจารย์ประจำ/นักวิจัย x 5
ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำ
และนักวิจัยที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5
= 27.22 X 5
20
= 6.80 คะแนน
ตารางที่ 2 ผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
ที่ |
ชื่อนักวิจัย |
ชื่อผลงาน |
ค่าน้ำหนัก |
||||
1.0 |
0.8 |
0.6 |
0.4 |
0.2 |
|||
1 |
สุภาพร อามาตย์ |
การจัดทำระบบบัญชีสำหรับวิสาหกิจชุมชน OTOP นวัตวิถี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชนบ้านดอนข่า ตำบลพราน อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ (วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2565) TCI 2 |
|
|
√ |
|
|
2 |
ณัชฐปกรณ์ สีหะวงษ์สกุล รพีพรรณ โสภากุล |
ศักยภาพและแนวโน้มการจัดการธุรกิจคาปลีกในเขตอำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ (Journal of Modern Learning Development ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 เดือนมิถุนายน 2565) TCI 2 |
|
|
√ |
|
|
3 |
อรรถพล ศิริเวชพันธุ์ |
ความเป็นอื่น การนิยามตนเอง และการประกอบสร้างอัตลักษณ์การท่องเที่ยวจากส่วนกลาง: กรณีศึกษาเมือง ถูหลู่ฟาน เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ (วารสารศิลปศาสตร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม พ.ศ. 2565) TCI 1 |
|
√ |
|
|
|
4 |
อรรถพล ศิริเวชพันธุ์ |
ศักยภาพในการปรับตัวเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน สู่มาตรฐานความปกติใหม่ภายใต้สถานการณ์โรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 : กรณีศึกษาบ้านเมืองจันทร์ อำเภอเมืองจันทร์ จังหวัดศรีสะเกษ (วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล ; ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2565) TCI 2 |
|
|
√ |
|
|
5 |
ภาดล อามาตย์ |
รูปแบบการจัดการระบบควบคุมคุณภาพการผลิตสินค้าทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษตามมาตรฐานสินค้าสิ่งบ่งชี้ ทางภูมิศาสตร์ไทย (GI) ของชาวสวนทุเรียนในเขตพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ (วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 ปี 2565 (กรกฎาคม - ธันวาคม) TCI 2 |
|
|
√ |
|
|
6 |
Panida Panichkul & Lattagarn Kuikaew |
Knowledge Management and Web Application Development of Ethnic Clothing in Sisaket, Thailand. Kuikaew, L. ., & Panichkul, P. (2022). Knowledge Management and Web Application Development of Ethnic Clothing in Sisaket, Thailand. Journal of Mekong Societies, 18(3), 135–158. TCI 1 |
|
√ |
|
|
|
7 |
ลัทธกาญจน์ กุยแก้ว |
การพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงในการนำชมแหล่งท่องเที่ยวปราสาทสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 35 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2565) TCI 1 |
|
√ |
|
|
|
ตารางที่ 2 ผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (ต่อ)
ที่ |
ชื่อนักวิจัย |
ชื่อผลงาน |
ค่าน้ำหนัก |
||||
1.0 |
0.8 |
0.6 |
0.4 |
0.2 |
|||
8 |
สุภัทรษร ทวีจันทร์ และปิยฉัตร ทองแพง |
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาการควบคุมภายในและตรวจสอบภายในเรื่อง การควบคุมภายในตามแนวคิดของระบบ COSO วารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน์ 18 (1) มกราคม – เมษายน 2566. หน้า 169 – 177. (TCI 2) |
|
|
√ |
|
|
9 |
ปิยฉัตร ทองแพง นารีรัตน์ ศรีหล้า สุดาทิพย์ เกษจ้อย และดรุณวรรณ แมดจ่อง |
การบูรณาการการจัดการเรียนรู้กับการวิจัยในรายวิชาการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในของนักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. สมาคมเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย. ครั้งที่ 18. สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.). 2565. ISBN (e-book) 978-616-296-264-6 หน้า 126 – 134 (Proceeding) |
|
|
|
|
√ |
10 |
Thongpaeng P. |
Good Internal Control Systems and Good Governance Affecting the Performances of savings cooperatives in Northeastern Thailand. Journal of economia copernicana. E-ISSN: 2353-1827 (online). Volume 13 Issue 3. P.1657– 1669. (Scopus Q1). |
√ |
|
|
|
|
11 |
Thongpaeng P, Wongwatanyoo J, Chatmontree J. |
Innovation of Natural Extraction and Dyeing from Silkworm Manure for Hand-Woven Fabrices. Journal Neuro Quantology Volume 20, Issue 6, ISSN : 1303 – 5150. Page 6392 – 6399. (Scopus Q2). Doi 10.14704/nq.2022.20.6.NQ22641. |
√ |
|
|
|
|
12 |
สุดาทิพย์ เกษจ้อย |
การเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรโดยการแปรรูปเป็นขนมไทยพื้นบ้าน สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่น วารสารสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565 (TCI 2) |
|
|
√ |
|
|
ตารางที่ 2 ผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (ต่อ)
ที่ |
ชื่อนักวิจัย |
ชื่อผลงาน |
ค่าน้ำหนัก |
||||
1.0 |
0.8 |
0.6 |
0.4 |
0.2 |
|||
13 |
ปิยฉัตร ทองแพง |
การพัฒนาระบบบัญชีสำหรับธุรกิจชุมชนเพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจของกลุ่มสตรีแปรรูปปลาร้าจังหวัดศรีสะเกษทะเบียนข้อมูลเลขที่ ว.050548 คำขอแจ้งข้อมูลเลขที่ 427324 (วรรณกรรม ลักษณะงาน งานนิพนธ์ ) |
|
|
|
√ |
|
14 |
ปิยฉัตร ทองแพง |
การจัดทำบัญชีและการควบคุมภายในของคณะกรรมการดองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง : กองทุนหมู่บ้านหนองคูใหญ่ ตำบลเป๊าะ อำเภอบึงบูรพ์ จังหวัดศรีสะเกษ ทะเบียนข้อมูลเลขที่ ว.050547 คำขอแจ้งข้อมูลเลขที่ 427299 (วรรณกรรม ลักษณะงาน งานนิพนธ์) |
|
|
|
√ |
|
15 |
ปิยฉัตร ทองแพง |
แนวทางการจัดทำบัญชีวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตเม็ดพันธุ์ข้าว ตำบลผักไหม อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษทะเบียนข้อมูลเลขที่ ว.050549 คำขอแจ้งข้อมูลเลขที่ 437322 (วรรณกรรม ลักษณะงาน งานนิพนธ์ ) |
|
|
|
√ |
|
16 |
ปิยฉัตร ทองแพง |
กรรมวิธีการผลิตปลาร้าก้อนกึ่งสำเร็จรูป เลขที่คำขอ 2023022200632 |
|
|
|
√ |
|
รหัสหลักฐาน | เอกสารหลักฐาน | |
---|---|---|
2.3 - (1) | 2.3 - (1) แบบสรุปบทความวิจัยในวารสารวิชาการที่อยู่ในฐาน SCOPUS, TCI และบทความวิจัยจากการ ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ/ |
ทำได้ (ข้อ) | ได้คะแนน | |
---|---|---|
5 |