ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ระดับความสําเร็จของการจัดซื้อจัดจ้าง

ปีที่ประเมิน 2565
ผู้ดูแลตัวบ่งชี้ : ศรีสุดา จันทร , พัทธนันท์ คำผา
ชนิดตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
คำอธิบายตัวบ่งชี้

ข้อปฏิบัติที่กําหนดขึ้นโดยสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และ มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การดําเนินการจัดซื้อจัดจ้างสามารถดําเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ตามกรอบระยะเวลาที่กําหนด ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและรายงานผลได้

เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 ข้อ มีการดำเนินการ 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 หรือ 6 ข้อ
เกณฑ์มาตรฐาน
ระดับ เกณฑ์มาตรฐาน ดำเนินการ
1 มีระบบและกลไกการจัดซื้อจัดจ้าง
2 มีการนําระบบและกลไกการจัดซื้อจัดจ้างไปสู่การปฏิบัติ
3 มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงาน อย่างน้อยทุกไตรมาส
4 นําผลการดําเนินงานรายงานต่อคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณา ทุกไตรมาสและคณะกรรมการบริหารหน่วยงานอย่างน้อย 1 ครั้ง
5 นําข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยและคณะกรรมการบริหารหน่วยงานไปใช้ในการปรับปรุงระบบและกลไกในการดําเนินงานรอบต่อไป
6 การจัดซื้อจัดจ้างสามารถดําเนินการได้ตามแผนการจัดชื้อจัดจ้างของหน่วยงาน
ผลการดำเนินงาน
ตนข้อเกณฑ์ผลการดำเนินงานหลักฐาน
1มีระบบและกลไกการจัดซื้อจัดจ้าง

1.งานพัสดุมีระบบและกลไกการจัดซื้อจัดจ้าง ดังนี้

          1.1 มีระบบและกลไกการจัดซื้อจัดจ้าง ตามขั้นตอนการดำเนินงานของหน่วยงาน โดยดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างให้ถูกต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารงานพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารงานพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560             

           1.2  มีคู่มือการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการดำเนินการจัดซื้อจ้าง (2.3-1(1))

           1.3  มีแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ประจำปีงบประมาณ  (2.3-1(2))   

           1.4  มีคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่พัสดุประจำหน่วยงาน โดยงานพัสดุดำเนินการขอเสนอแต่งตั้งเจ้าหน้าที่พัสดุประจำหน่วยงานต่ออธิการบดี  โดยเจ้าหน้าที่พัสดุประจำหน่วยงานมีหน้าที่ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างประจำหน่วยงาน ให้ถูกต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารงานพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารงานพัสดุภาครัฐฯ (2.3-1(3))    

2มีการนําระบบและกลไกการจัดซื้อจัดจ้างไปสู่การปฏิบัติ

2. งานพัสดุมีระบบและกลไกการจัดซื้อจัดจ้างไปสู่การปฏิบัติ ดังนี้

                   2.1 เจ้าหน้าที่พัสดุประจำหน่วยงานจัดทำบันทึกข้อความขออนุมัติจัดซื้อจัดจ้าง (2.3-2(1)) และกรอกข้อมูลในระบบจัดจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) โดยเป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารงานพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 (2.3-2(2))   

3มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงาน อย่างน้อยทุกไตรมาส

3. งานพัสดุมีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานอย่างน้อยทุกไตรมาส ดังนี้

                    3.1 มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงาน โดยจัดทำบันทึกข้อความ รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างทุกเดือน และวิเคราะห์ สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง นำเสนอต่อผู้บริหารเพื่อทราบและมอบนโยบาย (2.3-3(1))

                     3.2 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ติดตาม เร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณ (2.3-3(2)) โดยมีจัดประชุมเร่งรัดการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง การเบิกจ่ายทุกเดือน (2.3-3(3))

4นําผลการดําเนินงานรายงานต่อคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณา ทุกไตรมาสและคณะกรรมการบริหารหน่วยงานอย่างน้อย 1 ครั้ง

4. งานพัสดุนำผลการดําเนินงานรายงานต่อคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณาทุกไตรมาสและคณะกรรมการบริหารหน่วยงานอย่างน้อย 1 ครั้ง ดังนี้

          4.1 รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างรายไตรมาส (2.3-4(1)) นำเสนอต่อคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยทุกไตรมาส (2.3-4(2)) และรายงานต่อคณะกรรมการบริหารสำนักงานอธิการบดี เพื่อเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณไตรมาส 2 (2.3-4(3)) โดยคณะกรรมการมีข้อเสนอแนะ 2 ข้อ ดังนี้

                    1. ให้หน่วยงานเร่งรัดจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามแผน

                    2. ให้งานพัสดุจัดทำขั้นตอนและกระบวนการ การจัดซื้อจัดจ้างและแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ

5นําข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยและคณะกรรมการบริหารหน่วยงานไปใช้ในการปรับปรุงระบบและกลไกในการดําเนินงานรอบต่อไป

5. งานพัสดุนำข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยและคณะกรรมการบริหารหน่วยงานไปใช้ในการปรับปรุงระบบและกลไกในการดำเนินงานรอบต่อไป ดังนี้

                5.1 บันทึกข้อความเร่งรัดการจัดซื้อจัดจ้างเพื่อให้สามารถจัดซื้อจัดจ้างได้ตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด (2.3-5(1))                                                                                                    

                5.2 จัดทำขั้นตอนและกระบวนการ การจัดซื้อจ้างแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ (2.3-5(2))  

ข้อเสนอแนะ

แนวทางการปรับปรุง

ระยะเวลาดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1.จัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามแผน
2.จัดทำขั้นตอนและกระบวนการ     
การจัดซื้อจ้างแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ

1. บันทึกเร่งรัดจัดซื้อ
2. ขั้นตอนการและกระบวนปฏิบัติงาน         ( Flow Chart)

เมษายน -  มิถุนายน 2566

งานพัสดุ

6การจัดซื้อจัดจ้างสามารถดําเนินการได้ตามแผนการจัดชื้อจัดจ้างของหน่วยงาน

6. งานพัสดุการจัดซื้อจัดจ้างสามารถดำเนินการได้ตามแผนการของหน่วยงาน ดังนี้

          6.1 การจัดซื้อจัดจ้างสามารถดำเนินการได้ตามแผนการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานโดยเป้าหมายของการจัดซื้อจัดจ้างตามแผนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ดำเนินการได้ร้อยละ 85 ผลการดำเนินการคือ สามารถดำเนินการได้บรรลุเป้าหมาย เป็นระดับความสำเร็จของการจัดซื้อจัดจ้าง (2.3-6(1))

ตัวชี้วัด

ค่าเป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

การบรรลุเป้าหมาย

1.ร้อยละของการจัดซื้อจัดจ้างที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผน

ร้อยละ 80

มีการกำหนดการจัดซื้อจัดจ้างไว้ในแผนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ดำเนินการได้ร้อยละ 85

บรรลุเป้าหมาย

ผลคะแนนการประเมินตนเอง
ทำได้ (ข้อ) ได้คะแนน
6 5