ตัวบ่งชี้ที่ 3.5 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่เป็นที่ยอมรับในระดับGood Practice ของทั้งมหาวิทยาลัย

ปีที่ประเมิน 2563
ผู้ดูแลตัวบ่งชี้ : อัญชลี สุวัฒโนดม , สุชาติ ศรีชื่น
ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีน้อยกว่า 5  โครงการ มี 5 - 6 โครงการ มี 7 – 8 โครงการ มี 9 - 10 โครงการ มีมากกว่า 10 โครงการ
ผลการดำเนินงาน

ชื่อโครงการที่เป็นที่ยอมรับในระดับ Good  Practice

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ มีโครงการบริการวิชาการแก่สังคมแบบให้เปล่า ดังนี้

1.โครงการที่ปรึกษาทางอุตสาหกรรมวิสาหกิจชุมชน “ปลาร้าบ้านหัวนา” (ระดับสถาบัน)

2.โครงการค่ายพัฒนาทักษะการเรียนรู้ดนตรีและกีฬา (ระดับสถาบัน)

3.โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาส้มและการร่วมกลุ่มอาชีพผู้ผลิตปลาส้มชุมชนบ้านหัวนา (ระดับสถาบัน)

4.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการตลาดออนไลน์และบัญชีต้นทุนเพื่อชุมชนเข้มแข็ง (ระดับสถาบัน)

5.โครงการถอดบทเรียนองค์ความรู้และเขียนแผนพัฒนาชุมชน (ระดับสถาบัน)

6.โครงการการส่งเสริมการอ่าน โรงเรียนบ้านหนองสาดโนนเจริญ ตำบลหนองครก อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ

7.โครงการบริการวิชาการคลินิกกฎหมายเคลื่อนที่ (ระดับคณะ)

8.โครงการการจัดการความปลอดภัยทางถนน (ระดับคณะ)

9.โครงการพัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนเสื้อแซวจังหวัดศรีสะเกษ (ระดับคณะ)

10.โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียนและวิเคราะห์ (โรงเรียนต้นแบบ อ่านออก-เขียนได้-คิดเป็น-เรียนรู้จากเล่น) (ระดับคณะ)

11.โครงการยุวพัฒรักษ์ถิ่น (ระดับคณะ)

12.โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมชาติพันธุ์ 4 เผ่า (ลาว เขมร ส่วย เยอ) เพื่อสร้างจิตสำนึกในการดำเนินชีวิตตามศาสตร์พระราชา

13.โครงการยกระดับรายได้ครัวเรือนในชุมชนท่องเที่ยวแซนโดนตาและวิถี 3 น้ำ ศรีสะเกษ (ห้วยทับทัน ห้วยสำราญ แม่น้ำมูล) 

14.โครงการพัฒนากลุ่มผู้ผลิตผ้าไหมเพื่อการผลิตผ้าไหมอย่างครบวงจร (ย้อมผ้าด้วย มะดัน ลาวา มะเกลือ)

15.โครงการการพัฒนาระบบข้อมูลตำบลในจังหวัด (Big data)

จำนวนโครงการบริการวิชาการที่เป็นที่ยอมรับในระดับGood Practice ของทั้งมหาวิทยาลัยจำนวน 15 โครงการ ได้  5  คะแนน

ผลคะแนนการประเมินตนเอง
ทำได้ (ข้อ) ได้คะแนน
15 โครงการ 5.00 คะแนน